16888 : โครงการศึกษาเปรียบเทียบสารที่พบในราก ใบ ยอด และเปลือกไม้ของพืชสมุนไพรปลาไหลเผือกเพื่อการอนุรักษ์สมุนไพรปลาไหลเผือกในบริเวณเขตอนุรักษ์พันธุกรรม มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
อาจารย์นาตาลี อาร์ ใจเย็น (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 21/2/2564 21:24:13
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย(เบิกจ่ายจากงบยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2563  ถึง  30/09/2564
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  ไม่ระบุ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช 2564 98,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ นาตาลี อาร์  ใจเย็น
นาง ณิชาพล  บัวทอง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ฐิระ  ทองเหลือ
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการสนองงานโครงการในพระราชดำริ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ 64 MJU 2.3.2 ผลักดันผลงานการให้บริหารวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ MJU64 : 4. การบริการวิชาการเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ และสร้างทักษะวิชาชีพ
เป้าประสงค์ MJU64 : 4.1 ส่งเสริมการบริการวิชาการเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ และสร้างทักษะวิชาชีพ
ตัวชี้วัด 4.1.1 ร้อยละความสำเร็จของกิจกรรมเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้
กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมงานบริการวิชาการที่เสริมสร้างทักษะวิชาชีพ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

สมุนไพรปลาไหลเผือก หรือ ปลาไหลเผือกใหญ่,มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Eurycoma longifolia Jack จัดเป็นไม้ยืนต้นในวงศ์Simaroubaceae าเหตุที่เรียกสมุนไพรชนิดนี้ว่า "ปลาไหลเผือก" เนื่องมาจากรากของสมุนไพรชนิดนี้มีลักษณะคล้ายกับ "ปลาไหลเผือก" คือ รากเป็นสีขาว มีลักษณะยาวคล้ายปลาไหลเผือก อีกทั้งยังมีเพียงรากเดียว จึงทำให้บางท้องถิ่นจึงเรียกอีกชื่อว่า "พญารากเดียว จากฐานข้อมูลสมุนไพรของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (2014) ได้กล่าวถึงคุณมบัติของสมุนไพรชนิดนี้ว่าฤทธิ์ต้านมาลาเรีย ลดไข้ ลดระดับน้ำตาลในเลือด ลดความวิตกกังวล ออกฤทธิ์กระตุ้นความรู้สึกทางเพศในหนูทดลองตัวผู้ มีความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็ง ช่วยต้านการก่อเกิดเนื้องอกและมีสารต้านการอักเสบ เป็นต้นโดยมีการสกัดสารที่นำมาใช้นั้นส่วนใหญ่จะนำจากส่วนราก การนำส่วนรากมาสกัดสารต่างๆเพื่อใช้ในทางสมุนไพรนั้นจะเป็นการทำลายทรัพยากรรอย่างหนึ่งเนื่องจากต้องขุดเอารากออกมาใช้ทำลายทั้งต้นโดยส่วนอื่นๆในต้นไม่นำมาใช้ การศึกษาครั้งนี้เพื่อที่จะสามารถนำส่วนต่างๆของสมุนไพรชนิดนี้มาใช้ให้เกิดความคุ้มค่าโดยการศึกษาสารและเปรียบเทียบคุณสมบัติของสารต่างที่พบในส่วนต่างๆของสมุนไพรนี้คือ ราก ใบ ยอด และเปลือกไม้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เพื่อศึกษาสารที่พบในราก ใบ ยอด และเปลือกไม้จากการสกัดสารอย่างหยาบของปลาไหลเผือกที่พบในพี้นที่อนุรักษ์พันธุกรรมพืชบริเวณมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร จ.ชุมพร.
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : สารที่พบในราก ใบ ยอด และเปลือกไม้จากการสกัดสารอย่างหยาบของปลาไหลเผือกที่พบในพี้นที่อนุรักษ์พันธุกรรมพืชบริเวณมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร จ.ชุมพร.
KPI 1 : ตามงบประมาณ
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
66500 31500 บาท 98000
KPI 2 : ส่วนของพืชใช้สารสกัดอย่างหยาบ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 2 ส่วน 4
KPI 3 : การดำเนินงานโครงการเป็นไปตามแผน
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 4 : ชนิดของสารสำคัญที่ได้จากพิช
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 สาร 5
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : สารที่พบในราก ใบ ยอด และเปลือกไม้จากการสกัดสารอย่างหยาบของปลาไหลเผือกที่พบในพี้นที่อนุรักษ์พันธุกรรมพืชบริเวณมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร จ.ชุมพร.
ชื่อกิจกรรม :
การสกัดสารอย่างหยาบของสมุนปลาไหลเผือกในส่วนราก ใบ ยอด และเปลือกไม้

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2563 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์นาตาลี อาร์  ใจเย็น (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางณิชาพล  บัวทอง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาบริการ ตรวจสอบตัวอย่าง จำนวน 8 ตัวอย่าง ๆ ละ 2500บาท เป็นเงิน 20000บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,000.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ เป็นเงิน 20,000 บาท
- ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน เป็นเงิน 13,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 16,500.00 บาท 16,500.00 บาท 0.00 บาท 33,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น..กระดาษกรองเบอร์ 1 สารเอธานอล, สารแอลกอฮอล์ 95 เปอร์เซ็นต์, สารเมธิลแอลกฮอร์, ขวดแก้วฝาสีฟ้า ฯลฯ เป็นเงิน.35000.บาท
- ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น.กรดาษ A4, ปากกา permament ลวดเย็บกระดาษ มีดคัตเตอร์ ใบมีดคัดเตอร์ ฯลฯ เป็นเงิน 5000 บาท
- ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกปริ๊น แผ่นบันทึก CD ซองใส่ CD ฯลฯ เป็นเงิน 5000 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 40,000.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 45,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 98000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
เนื่องจากสถานการณ์ระบาดเชื้อโควิด-19 ไม่สามารถตรวจสารสำคัญในเชิงปริมาณได้จึ่งเปลี่ยนแผนตรวจเฉพาะสารสำคัญในเชิงคุณภาพ
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล