16456 : ฐานเรียนรู้การเลี้ยงไส้เดือนดินกำจัดขยะอินทรีย์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นายไพบูลย์ โพธิ์ทอง (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 24/11/2563 14:59:40
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2563  ถึง  30/09/2564
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  500  คน
รายละเอียด  หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บกำจัดขยะอินทรีย์ เกษตรกร นักวิชาการ นักวิจัย นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน ศูนย์วิจัยและพัฒนาเกษตรธรรมชาติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานบริการวิชาการ 2564 80,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย ไพบูลย์  โพธิ์ทอง
ศาสตราจารย์ ดร. อานัฐ  ตันโช
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ศาสตราจารย์ ดร. อานัฐ  ตันโช
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
ศูนย์วิจัยและพัฒนาเกษตรธรรมชาติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ 64 MJU 2.3.3 พัฒนาองค์ความรู้และผลักกดันสู่การยอมรับในระดับนานาชาติ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ที่มา ขยะอินทรีย์ ประกอบด้วยทั้งของแห้งเช่น ใบไม้ หญ้า กิ่งไม้ และขยะสดจากกระบวนการประกอบอาหารและแปรรูปผลผลิตเกษตรจากโรงงานต่างๆ ในส่วนของขยะอินทรีย์แห้งมักนำไปใช้ในการผลิตปุ๋ยหมักและไม่เป็นปัญหาก่อมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมหรือชุมชนเว้นแต่จะมีการเผาทำลายก่อมลพิษทางอากาศ แต่ในส่วนของขยะอินทรีย์ที่เป็นขยะสด ที่เก็บได้จากตลาดสด หรือเศษอาหารเหลือจากครัวเรือน รวมถึงเศษผักสด ผลไม้กระป๋องจากการแปรรูปผลผลิตในโรงงานต่างๆ มักเป็นปัญหาในทุกพื้นที่ที่มีสังคมเมืองตั้งอยู่ ทั้งนี้ขยะส่วนนี้เป็นส่วนที่ก่อผลกระทบในด้านกลิ่นเหม็น แพร่เชื้อก่อโรค หนูและแมลงสาบ เป็นที่รังเกียจของชุมชนแต่ละแห่ง และเป็นปัญหาของการเก็บกำจัดของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แต่ขยะสดนั้นเป็นส่วนที่มีคุณค่าสารอาหารสูง เหมาะสำหรับนำเลี้ยงสัตว์ และผลิตเป็นปุ๋ยอินทรีย์ชนิดต่างๆ ซึ่งการใช้ไส้เดือนดินกำจัดขยะอินทรีย์ชุมชน กำจัดขยะสดเป็นโครงการที่ผ่านการวิจัยแล้วและสร้างโรงเรือนเลี้ยงในระดับพาณิชย์เป็นผลสำเร็จ หน่วยงาน ผู้ประกอบการต่างๆที่เกี่ยวข้องสามารถเข้าศึกษาเรียนรู้และนำไปประยุกต์ใช้จัดการขยะสดในพื้นที่ของตนได้ สภาพปัญหา / ความต้องการ ขยะอินทรีย์ ประกอบด้วยทั้งของแห้งเช่น ใบไม้ หญ้า กิ่งไม้ และขยะสดจากกระบวนการประกอบอาหารและแปรรูปผลผลิตเกษตรจากโรงงานต่างๆ ในส่วนของขยะอินทรีย์แห้งมักนำไปใช้ในการผลิตปุ๋ยหมักและไม่เป็นปัญหาก่อมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมหรือชุมชนเว้นแต่จะมีการเผาทำลายก่อมลพิษทางอากาศ แต่ในส่วนของขยะอินทรีย์ที่เป็นขยะสด ที่เก็บได้จากตลาดสด หรือเศษอาหารเหลือจากครัวเรือน รวมถึงเศษผักสด ผลไม้กระป๋องจากการแปรรูปผลผลิตในโรงงานต่างๆ มักเป็นปัญหาในทุกพื้นที่ที่มีสังคมเมืองตั้งอยู่ ทั้งนี้ขยะส่วนนี้เป็นส่วนที่ก่อผลกระทบในด้านกลิ่นเหม็น แพร่เชื้อก่อโรค หนูและแมลงสาบ เป็นที่รังเกียจของชุมชนแต่ละแห่ง และเป็นปัญหาของการเก็บกำจัดของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ความเร่งด่วน ทุกวันนี้ประชากรเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะสัดส่วนของพลเมืองในส่วนของสังคมเมืองเพิ่มมากขึ้น จึงก่อขยะเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะในส่วนของขยะสดที่เหลือจากการประกอบอาหารเลี้ยงมนุษย์ มีปริมาณมากขึ้นทุกขณะโดยเฉพาะในเมืองใหญ่และเมืองที่มีการส่งเสริมด้านการศึกษาและด้านการท่องเที่ยวอย่างจังหวัดเชียงใหม่ กรุงเทพฯ พัทยา เป็นต้น แนวทางการดำเนินงาน ขยะสดนั้นแม้เป็นส่วนที่ก่อปัญหาได้มากแต่ก็เป็นขยะในส่วนที่มีคุณค่าสารอาหารสูง เหมาะสำหรับนำเลี้ยงสัตว์ และผลิตเป็นปุ๋ยอินทรีย์ชนิดต่างๆ ซึ่งการใช้ไส้เดือนดินกำจัดขยะอินทรีย์ชุมชน หน่วยงาน ผู้ประกอบการต่างๆที่เกี่ยวข้องสามารถเข้าศึกษาเรียนรู้และนำไปประยุกต์ใช้จัดการขยะสดในพื้นที่ของตนได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงไส้เดือนดินกำจัดขยะอินทรีย์ระดับชุมชน แก่หน่วยงานเทศบาล และภาคส่วนต่างๆที่มีปัญหาด้านขยะอินทรีย์ ทั้งในประเทศไทย และต่างประเทศ ตามแนวพระราชดำริของพระเจ้าอยู่หัวฯ เรื่องการจัดการขยะอินทรีย์ในชุมชนและการใช้ประโยชน์จากขยะอินทรีย์
เป็นแหล่งเรียนรู้ ศึกษาวิจัย ของ นักวิชาการ ครู อาจารย์ นักเรียน นักศึกษา เกษตรกร และประชาชนทั่วไป
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : แหล่งเรียนรู้การเลี้ยงไส้เดือนดินกำจัดขยะอินทรีย์ เพื่อเป็นจุดสาธิต ศึกษาดูงาน บริการวิชาการแก่ผู้เข้าเยี่ยมชม
KPI 1 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.08 ล้านบาท 0.08
KPI 2 : ร้อยละของผู้เข้ามาศึกษาดูงาน ภายในฐาน มีความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะอินทรีย์เพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 ร้อยละ 70
KPI 3 : จำนวนผู้รับบริการวิชาการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 100 150 150 คน 500
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 6 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : จำนวนแหล่งเรียนรู้การเลี้ยงไส้เดือนดินกำจัดขยะอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แหล่ง 1
KPI 8 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : แหล่งเรียนรู้การเลี้ยงไส้เดือนดินกำจัดขยะอินทรีย์ เพื่อเป็นจุดสาธิต ศึกษาดูงาน บริการวิชาการแก่ผู้เข้าเยี่ยมชม
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 : สร้างสื่อประกอบการให้บริการวิชาการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2564 - 30/01/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายไพบูลย์  โพธิ์ทอง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำแผ่นพับองค์ความรู้ ขนาด เอ 4 (2 หน้า) จำนวน 2,000 แผ่นๆ ละ 2 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 4000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 : สร้างแหล่งเรียนรู้การเลี้ยงไส้เดือนดินกำจัดขยะอินทรีย์
เพื่อเป็นจุดสาธิต ศึกษาดูงาน บริการวิชาการแก่ผู้เข้าเยี่ยมชม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2564 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายไพบูลย์  โพธิ์ทอง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1) ค่าวัสดุเกษตร เช่น สแลนสีดำ, ถุงมือยาง,มูลวัว,กากเห็ด ฯลฯ เป็นเงิน 50,000 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ, แฟ้ม ฯลฯ เป็นเงิน 16,000 บาท
3) ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ ,หมึกถ่ายเอกสาร ฯลฯ เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 76,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 76,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 76000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาด้านการระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า (Covic 19) ทำให้เป็นอุปสรรคในการเปิดรับคณะที่ต้องการเข้ามาศึกษาดูงาน ณ จุดบริการวิชาการ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ฐานเรียนรู้ได้ดำเนินการเพิ่มช่องทางในการให้บริการวิชาการผ่านระบบออนไลน์
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล