16326 : โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรสำหรับประโยชน์ทางการผลิตพืชผักอินทรีย์และปลอดภัย เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและรายได้ของชุมชน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
อาจารย์ ดร.สุเทพ วัชรเวชศฤงคาร (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 24/2/2564 9:37:34
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2563  ถึง  30/09/2564
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  - กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตผักในระบบเกษตรอินทรีย์ (Organic) ในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดอื่นๆ - กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตผักในระบบปลอดภัย (GAP) ในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดอื่นๆ คณะต่าง ๆ ภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เช่น คณะผลิตกรรมการเกษตร รวมถึงสาขาต่าง ๆ ที่มีการบูรณาการการเรียนการสอนร่วมกับสาขาพืชผัก เช่น สาขาส่งเสริมการเกษตร สาขาประมง และประชาชนผู้สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน 2564 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. สุเทพ  วัชรเวชศฤงคาร
อาจารย์ ดร. แสงเดือน  อินชนบท
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการสนองงานโครงการในพระราชดำริ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO)
เป้าประสงค์ 64 MJU 1.1 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้สู่ปีที่ 100
ตัวชี้วัด 64 MJU 1.1 ร้อยละความสำเร็จของการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยสู่ปีที่ 100
กลยุทธ์ 64 MJU 1.1.1 การขับเคลื่อนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยสู่ปีที่ 100
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ64 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 AP 2.3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม ด้วยองค์ความรู้ เพื่อมุ่งสู่การพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้สู่ปีที่ 100
ตัวชี้วัด 64AP2.3.4 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 64 AP2.1.1 การให้บริการวิชาการแก่ชุมชน เพื่อขยายพื้นที่ รายได้ และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การทำการเกษตรในปัจจุบันเกษตรกรพึ่งพาปัจจัยการผลิตจากภายนอกเป็นหลัก ทำให้ได้ผลกำไรจากกการเพาะปลูกพืชน้อย หรือประสบปัญหาขาดทุนเนื่องจากต้องซื้อปัจจัยการผลิตทุกครั้ง โดยขาดแนวคิดของการพึ่งพาตนเองในการที่จะลดการซื้อปัจจัยการผลิต เช่น วัสดุเพาะกล้า วัสดุปลูก และปุ๋ยหมักที่ได้จากการนำวัสดุเหลือใช้จากการเกษตรในแหล่งผลิตนั้นนำกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดนั้น จึงเป็นแนวทางที่สามารถช่วยลดต้นทุนด้านปัจจัยการผลิตให้แก่เกษตรกรได้ เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการพระราชดําริ เกษตรอินทรีย์เศรษฐกิจพอเพียง นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับในสภาพปัจจุบันที่ประสบปัญหามลภาวะจากขยะเหลือใช้เหล่านี้ จึงต้องมีการจัดการขยะเหลือศูนย์ หรือ Zero Waste ที่ผ่านมาการนำเอาวัสดุอินทรีย์ (Organic Waste) เหลือใช้จากการเกษตรมาใช้เป็นปุ๋ย และวัสดุปรับปรุงดิน ทั้งนี้เพราะวัสดุเหลือใช้บางชนิดมีคุณสมบัติและองค์ประกอบที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืชและการปลดปล่อยธาตุอาหาร วัสดุเหลือใช้ที่นำมาศึกษาในครั้งนี้ ได้แก่ ฟางข้าว เศษใบไม้ ซังข้าวโพด และเศษวัสดุทางการเกษตรอื่นๆ โดยเฉพาะฟางข้าว และซังข้าวโพดนั้น เกษตรกรมักจะกำจัดโดยการเผาทิ้ง ซึ่งก่อให้เกิดมลภาวะทางอากาศ ดังนั้นโครงการนี้จึงเป็นงานที่มีความสำคัญอย่างมากต่อการยกระดับความเป็นอยู่ของเกษตรกรด้านการลดต้นทุนปัจจัยการผลิต และการจัดการขยะเหลือใช้จากการเกษตร อีกทั้งยังช่วยลดมลภาวะทางอากาศ โดยทำการศึกษากรรมวิธีการหมักที่มีผลต่อคุณสมบัติทางเคมีของวัสดุตั้งต้น และศึกษาถึงอัตราส่วนที่เหมาะสมของวัสดุเหลือใช้ เพื่อผลิตวัสดุเพาะกล้าและวัสดุปลูกที่มีคุณสมบัติที่ดีใกล้เคียงกับวัสดุเพาะกล้าสำเร็จรูปนำเข้าจากต่างประเทศ และวัสดุปลูกที่มีขายตามท้องตลาดทั่วไป ซึ่งองค์ความรู้ที่ได้จากโครงการนี้ จะนำไปสู่การพัฒนาการทำการเกษตรแบบยั่งยืน เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรให้เป็นประโยชน์ต่อการปลูกพืชทุกชนิด
เพื่อเป็นแหล่งพัฒนาและยกระดับวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรให้เกิดประโยชน์สำหรับการปลูกพืชในระบบเกษตรอินทรีย์และระบบปลอดภัยของมหาวิทยาลัยแม่โจ้และจังหวัดเชียงใหม่
เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการพระราชดําริเกษตรอินทรีย์เศรษฐกิจพอเพียง เกษตรอินทรีย์แบบพึ่งพาตนเอง
เพื่อให้ชุมชนสามารถเปลี่ยนวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรที่ไม่มีประโยชน์ให้มีมูลค่าและสร้างรายได้แก่ชุมชน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เทคโนโลยีการพัฒนาวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร
KPI 1 : จำนวนผู้รับบริการฝึกอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 30 0 คน 30
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 40 40 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนสูตรของวัสดุเพาะกล้าและวัสดุปลูกที่ทำการผลิต
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 3 0 สูตร 3
KPI 4 : องค์ความรู้ด้านการใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรให้เป็นประโยชน์ต่อการปลูกพืช
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 1 0 0 องค์ความรู้ 1
KPI 5 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0.05 0 0 ล้านบาท 0.05
KPI 6 : แหล่งเรียนรู้และบริการวิชาการทางด้านการผลิตวัสดุเพาะกล้าวัสดุปลูกและการผลิตปุ๋ยหมักจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 1 แหล่ง 1
KPI 7 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 40 40 ร้อยละ 80
KPI 8 : แหล่งพัฒนาและยกระดับวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรให้เกิดประโยชน์สำหรับการปลูกพืชในระบบเกษตรอินทรีย์และระบบปลอดภัย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 1 0 0 แหล่ง 1
KPI 9 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 40 40 ร้อยละ 80
KPI 10 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 30 40 20 ร้อยละ 90
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เทคโนโลยีการพัฒนาวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร
ชื่อกิจกรรม :
การถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรสำหรับประโยชน์ทางการผลิตพืชผักอินทรีย์และปลอดภัย

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2563 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.สุเทพ  วัชรเวชศฤงคาร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.แสงเดือน  อินชนบท (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 35 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 2,100 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,100.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,100.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 120 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร เช่น ขุยมะพร้าว ขี้เถ้าแกลบ เข่ง คราด พลั่ว, ช้อนพรวน เมล็ดพันธุ์พืชผัก มูลวัว มูลไก่
ดินดำ แกลบดิบ เปลือกถั่ว ตาข่ายพรางแสง ไตรโคเดอร์มา บิววาเรีย พลาสติกมุงหลังคา ฟางข้าว เป็นต้น เป็นเงิน 44,300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 44,300.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 44,300.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
- วิชาพส 393 ปฏิบัติงานฟาร์มพืชสวน 3 - วิชาพส 394 ปฏิบัติงานฟาร์มพืชสวน 4 - วิชาพส 301 หลักการผลิตผัก - วิชาพส 421 การผลิตเมล็ดพันธุ์ผัก - วิชาพส 424 เทคนิคการผสมพันธุ์ผัก
ช่วงเวลา : 01/12/2563 - 30/09/2564
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล