16053 : โครงการ Well-being @ Chumphon (การพัฒนาฟาร์มเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
อาจารย์ ดร.ฐิระ ทองเหลือ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 27/11/2563 11:49:49
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย(เบิกจ่ายจากงบยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2563  ถึง  31/12/2563
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  7000  คน
รายละเอียด  -นักเรียนนักศึกษาในมหาวิทยาลัยแม๋โจ้-ชุมพร และมหาวิทยาลัยอื่นๆ 3,000 คน -ประชาชนทั่วไป เช่น เกษตรกร ผู้ประกอบการ นักธุรกิจ 2,000 คน -นักวิชาการ/นักวิจัย/ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 500 คน -กลุ่มองค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร เช่นกลุ่มเกษตรกร กลุ่มวิสาหกิจฯลฯ 1,500 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 2564 54,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. ฐิระ  ทองเหลือ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. โชคอนันต์  วาณิชย์เลิศธนาสาร
น.ส. นีร  เรียนกุนา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. บัญญัติ  มนเทียรอาสน์
อาจารย์ ดร. บุญศิลป์  จิตตะประพันธ์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ด้านวิจัยและนวัตกรรม
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO)
เป้าประสงค์ 64 MJU 1.4 มีต้นแบบความสำเร็จของชุมชนและแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ทั้ง 3 วิทยาเขต (Eco Community & Tourism)
ตัวชี้วัด 64 MJU 1.8 ความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ Well-Being @ Chumporn
กลยุทธ์ 64 MJU 1.4.3 สร้างแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์และการท่องเที่ยวต้นแบบแห่งชายฝั่งทะเลตะวันออก
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ MJU64 : 4. การบริการวิชาการเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ และสร้างทักษะวิชาชีพ
เป้าประสงค์ MJU64 : 4.1 ส่งเสริมการบริการวิชาการเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ และสร้างทักษะวิชาชีพ
ตัวชี้วัด 4.1.1 ร้อยละความสำเร็จของกิจกรรมเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้
กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมงานบริการวิชาการที่เสริมสร้างทักษะวิชาชีพ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

รัฐบาลมียุทธศาสตร์การพัฒนาเกษตรอินทรีย์แห่งชาติ (2560-2564) ประกอบกับกระแสความต้องการบริโภคสินค้าอินทรีย์มีความต้องการมากขึ้น การทำเกษตรอินทรีย์จึงเป็นต้นทางของการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จึงได้นำนโยบายพัฒนาการเกษตรให้มีความปลอดภัยทั้งคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม อันเป็นพื้นฐานสำคัญของการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable development) ตามที่วางแผนยุทธศาสตร์ไว้ ภายใต้ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 3 ระยะ คือ GO ORGANIC GO GREEN และ GO ECO เพื่อให้เป็นมหาวิทยาลัยที่เป็นที่พึ่งของสังคมที่อุดมด้วยปัญญา รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยมีเกษตรเป็นรากฐาน เพื่อแก้ปัญหาของสังคมจากฐานราก ทั้งการพัฒนา กาย และใจ บนแนวคิด (Wellbeing at Maejo Chumphon) โดยเริ่มกระบวนการจากการวางแผนการผลิต การบริหารจัดการให้ได้ผลผลิตที่มีมาตรฐาน การแปรรูป การจัดจำหน่าย เกษตรอินทรีย์ตามมาตรฐาน การพัฒนาแปลงอินทรีย์ ในพืชชนิดต่างๆ ตั้งแต่พืชผัก พืชสวน ไม้ผล และสมุนไพร จึงเป็นแนวทางหนึ่งที่จะพัฒนา ให้มหาวิทยาลัยไปสู่เป้าหมาย คือ (Well-being @ Chumphon) ดังนันการจัดการพืนทีเพือสร้างมูลค่าเพิมทังทางสังคม ทางเศรษฐกิจ และสิงแวดล้อม ด้วยองค์ความรู้ทีแม่โจ้มีอยู่แล้ว และองค์ความรู้ ใหม่ทีจะสร้างขึน ร่วมกันกับกัลยาณมิตร เพือนําพามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ให้สามารถแข่งขันได้สูงขึ้นกว่าเดิม แนวทางการทํางาน งานแบบบูรณาการข้ามศาสตร์ทางด้านวิทยาศาสตร์ เกษตรประมง การท่องเทียว และสังคมศาสตร์ เพือสร้าง “Well-Bing @ Chumporn” มีเป้าหมายเพือสร้างสังคมแห่งความสุข “Wellness Center” โดยเบื้อต้นเน้นที่การปรับโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาแหล่งน้ำ ถนน หนทาง การวางผังการจัดการฟาร์มเกษตรอินทรีย์ เพื่อสร้างรายได้และพัฒนาเป็นแหล่งบูรณาการการเรียนการสอน การวิจัยและการบริการวิชาการในอนาคต

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
7.1 เพื่อเป็นศูนย์กลางของการพัฒนาคนทุกระดับวัยไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืนภายใต้รากฐานการเกษตรที่เน้นคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
7.2 เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้และพัฒนาอาชีพของประชาชนในภูมิภาค
7.3 เพื่อบูรณาการข้ามศาสตร์เพื่อการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชการ การหารายได้ของมหาวิทยาลัยในอนาคต
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : 12.1. การดูแลแปลงไม้ผลจำนวน 11 รายการ เพื่อบำรุงรักษาการให้ปุ๋ย การฉีดพ่นสารชีวภัณฑ์ไล่แมลง การขยายถุง
KPI 1 : กิจกรรมการดูแลพันธุ์ไม้ได้ดำเนินการไปตามแผน ร้อยละ 95
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
95 ร้อยละ 95
ผลผลิต : 12.2. การดูแลไม้ผลที่ได้ดำเนินการปลูกไปแล้วประกอบด้วยมะพร้าวแกง มะพร้าวน้ำหอม 70 ไร่ กะท้อน 8 ไร่ โกโก้ 10 ไร่ ส้มโชกุน 5 ไร่
KPI 1 : ร้อยละ 95 กิจกรรมเกษตรอินทรีย์ดำเนินไปตามแผนที่วางไว้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
95 ร้อยละ 95
ผลผลิต : 12.3. เตรียมการสำหรับการขยายพื้นที่ปลูกไม้ผลเพิ่มเติม เช่นการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 10,000 กิโลกรัม สารชีวภัณฑ์ต่างๆ 300 กิโลกรัม
KPI 1 : ร้อยละ 80 กิจกรรมการผลิตปุ๋ยอินทรีย์เพื่อเตรียมการปลูกไม้ผลเพิ่มเติม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
ผลผลิต : 12.4. การสร้างรายได้จากพื้นที่ๆ ที่ได้ดำเนินการติดตั้งระบบน้ำเสร็จสิ้นแล้ว เช่นการปลูกพืชแซม พืชผัก พืชล้มลุกและพืชฤดูเดียว ในพื้นที่ 10 ไร่
KPI 1 : ร้อยละ 80 เกิดรายได้จากกิจกรรมแปลงเกษตรอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 50 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : 12.1. การดูแลแปลงไม้ผลจำนวน 11 รายการ เพื่อบำรุงรักษาการให้ปุ๋ย การฉีดพ่นสารชีวภัณฑ์ไล่แมลง การขยายถุง
ชื่อกิจกรรม :
1. จ้างเหมาคนงานเกษตรจำนวน 2 คนๆ ละ 3 เดือนๆ ละ 9,000 บาท (2*3*9,000) รวม 54,000 บาท

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2563 - 31/12/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ฐิระ  ทองเหลือ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
จ้างเหมาคนงานเกษตรจำนวน 2 คนๆ ละ 3 เดือนๆ ละ 9,000 บาท รวม 54,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
54,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 54,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 54000.00
ผลผลิต : 12.2. การดูแลไม้ผลที่ได้ดำเนินการปลูกไปแล้วประกอบด้วยมะพร้าวแกง มะพร้าวน้ำหอม 70 ไร่ กะท้อน 8 ไร่ โกโก้ 10 ไร่ ส้มโชกุน 5 ไร่
ผลผลิต : 12.3. เตรียมการสำหรับการขยายพื้นที่ปลูกไม้ผลเพิ่มเติม เช่นการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 10,000 กิโลกรัม สารชีวภัณฑ์ต่างๆ 300 กิโลกรัม
ผลผลิต : 12.4. การสร้างรายได้จากพื้นที่ๆ ที่ได้ดำเนินการติดตั้งระบบน้ำเสร็จสิ้นแล้ว เช่นการปลูกพืชแซม พืชผัก พืชล้มลุกและพืชฤดูเดียว ในพื้นที่ 10 ไร่
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
14.1.เรื่องสภาพดินฟ้าอากาศและมรสุมและระบบการให้น้ำที่ยังไม่ทั่วถึง
14.2. การปรับดินและวางผังการลงต้นไม้ ไม่สามารถดำเนินการได้ตามแผนงานที่วางไว้
14.3. ความชัดเจนในเรื่องการการแบ่งพื้นที่เพื่อดำเนินโครงการยุทธศาสตร์และพื้นที่สำหรับกิจกรรมอื่นๆ ยังไม่ชัดเจน
14.4. ความชัดเจนในการแต่งตั้งคณะกรรมการและคณะทำงานที่รับผิดชอบโดยตรงต่อโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยแม่โจ้ (Well-being@Chumphon)
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
15.1 การวางระบบน้ำและการวางผังการปลูกตามแนวทางการปลูกพืชบนผืนทรายและริมทะเล เพื่อป้องกันลมและการขาดน้ำและธาตุอาหารสำหรับการปลูก
15.2. การเตรียมแผนสำหรับการปรับแนวถนนและปรับกองดินเพื่อวางแผนปลูกไม้ผล ตามแผนที่ได้วางไว้
15.3. ควรมีการทบทวนผังแม่บทเพื่อจัดสรรพื้นที่ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์พื้นที่อย่างชัดเจน
15.4. ควรมีการแต่งตั้งคณะทำงานให้มีความรับผิดชอบโดยตรงเพ ื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
-วิชา กช.321 เศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน เทอม 1/2563 นักศึกษาได้ใช้เป็นพื้นที่ปฏิบัติงานสำหรับการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ สารชีวภัณฑ์ การผลิตฮอร์โมนพืชอินทรีย์ การปลูกไม้ผลเขตร้อน และทักษะอื่นๆ ที่จำเป็นในรายวิชาดังกล่าว -วิชา ศท.304 ศาสตร์และศิลป์แห่งปัญญาชน เทอม 1/2563 นึกศึกษาได้ใช้เป็นพื้นที่ในการพัฒนาทักษะด้านการเกษตร เพื่อพัฒนาทักษะตนเองเพื่อใช้ในการประกอบอาชีพของนักศึกษาในอนาคต
ช่วงเวลา : 01/10/2563 - 31/12/2563
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล