15789 : การเพิ่มศักยภาพการใช้ประโยชน์ร่องน้ำในสวนปาล์มน้ำมันแปลงใหญ่เพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำด้วยวัตถุดิบอาหารในท้องถิ่น
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุทธนา สว่างอารมย์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 22/6/2563 10:52:21
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/03/2563  ถึง  30/09/2563
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  60  คน
รายละเอียด  ชาวบ้านที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม (ปาล์มน้ำมันและยางพารา) พื้นที่ดำเนินโครงการ จังหวัดสุราษฎร์ธานี และจังหวัดชุมพร
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน โครงการบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 2563 80,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ยุทธนา  สว่างอารมย์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 4.การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 63 MJU 4.2.3 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.7 ติดตามประเมินสัมฤทธิ์ผล และผลกระทบต่อชุมชนจากการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ 4. การบริการวิชาการเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
เป้าประสงค์ 4.1 ส่งเสริมการบริการวิชาการเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด 4.1.1 จำนวนโครงการที่ตอบสนองความต้องการของสังคม
กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมงานบริการวิชาการที่ตอบสนองความต้องการของสังคม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

เกษตรแปลงใหญ่เป็นนโยบายหนึ่งที่ถูกนำปรับใช้เพื่อให้เกิดการรวมตัวกันของเกษตรกร ส่งผลให้สามารถเพิ่ม productivity ลงทุน เทคโนโลยี คุณภาพสูงแล้วลดต้นทุนได้เป็นอย่างดี อีกทั้ง การถ่ายทอดเทคโนโลยีและการให้บริการความรู้แก่เกษตรกรจากหน่วยงานภาครัฐสามารถทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งคณะวิจัยได้ทำการตรวจเอกสารและปรึกษาหารือกับเกษตรกร พบว่า ปัจจุบันจังหวัดชุมพรเป็นพื้นที่หนึ่งที่มีการปลูกปาล์มน้ำมัน (Oil palm) กันเป็นจำนวนมาก โดยในปี 2555 จังหวัดชุมพรมีพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมันที่ให้ผลผลิตมากเป็นอันดับที่ 3 รองจากจังหวัดสุราษฎร์ธานี และจังหวัดกระบี่ ตามลำดับ ซึ่งมีพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมันประมาณ 7.44 แสนไร่ และให้ผลผลิตประมาณ 2.24 ล้านตัน ซึ่งสวนปาล์มน้ำมันของเกษตรกรส่วนใหญ่จะมีการวางตำแหน่งการปลูกปาล์มน้ำมันเป็นแนวรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า (ระยะปลูก 9 x 9 x 9 เมตร ที่มีความหนาแน่น 22 ต้นต่อไร่) เพื่อสวนปาล์มน้ำมันจะได้มีพื้นที่ว่างระหว่างแถวมากที่สุด และนิยมขุดร่องน้ำภายในสวนปาล์มน้ำมันเพื่อป้องกันน้ำท่วมขัง ซึ่งจากการสังเกตพบว่าภายในร่องน้ำนั้นจะมีน้ำอยู่ในระดับสูงเกือบตลอดทั้งปี แต่เกษตรกรส่วนใหญ่จะใช้บริเวณร่องน้ำนี้เป็นเพียงที่ทิ้งทางใบปาล์มน้ำมันเท่านั้น แนวทางหนึ่งที่ในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่อย่างจำกัดเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งเป็นวัตถุประสงค์ของเกษตรแปลงใหญ่ นั้นก็คือ ควรมีการส่งเสริมให้เกษตรกรเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในร่องสวนปาล์มน้ำมันโดยใช้อาหารที่ผลิตขึ้นเองภายในฟาร์มด้วยวัตถุดิบอาหารภายในท้องถิ่น เพื่อเป็นการลดการพึ่งพาอาหารเม็ดสำเร็จรูปจากภายนอก โดยพบว่าการเลี้ยงปลาดุกลูกผสมและปลานิลในร่องสวนปาล์มน้ำมันด้วยอาหารปลาดุกสำเร็จรูปผสมร่วมกับกากสลัดปาล์มซึ่งเป็นผลพลอยได้อีกชนิดหนึ่งจากโรงงานผลิตน้ำมันปาล์มที่มีปริมาณมาก ราคาถูกและสามารถหาได้ง่ายในท้องถิ่น ในอัตราส่วน 1 ต่อ 2 นั้น สามารถลดต้นทุนค่าอาหารในการเลี้ยงปลาดุกลูกผสมและปลานิลได้ โดยไม่ส่งผลต่อการเจริญเติบโต ทำให้การผลิตปลาดุกลูกผสมและปลานิล เกษตรกรจะเสียค่าอาหารปลาเพียง 12.69 และ 20.23 บาทต่อกิโลกรัม ตามลำดับ ดังนั้น โครงการนี้จึงเห็นควรจัดให้มีการอบรมถ่ายทอดผลการวิจัยออกไปยังกลุ่มเป้าหมายต่างๆ เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรใช้เป็นแนวทางในการประกอบอาชีพใหม่หรืออาชีพเสริม ด้วยการหันมาเลี้ยงปลาดุกลูกผสมและปลานิลควบคู่ไปกับการทำสวนปาล์มน้ำมันภายในกลุ่มเกษตรแปลงใหญ่อีกทั้งยังเป็นการพัฒนาระบบการปลูกปาล์มน้ำมันตามแนวทางการทำเกษตรแบบผสมผสาน (Integrated Farming) ซึ่งเป็นการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ดินและพื้นที่น้ำที่มีอยู่ให้มากที่สุดและยังเป็นการเกื้อกูลระหว่างพืชกับปลาส่งผลให้ต้นทุนในการปลูกปาล์มน้ำมันลดลงและยังช่วยลดความเสี่ยงในการขาดทุนจากการลงทุนในกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง โดยไม่ก่อให้เกิดผลเสียต่อสภาวะแวดล้อม อีกทั้งยังสามารถนำเอาปลาดุกลูกผสมและปลานิลที่ได้มาใช้เป็นอาหารภายในครอบครัวหรือนำไปขายเป็นรายได้เสริม นอกเหนือจากการขายผลปาล์มน้ำมันได้ อีกทางหนึ่งซึ่งสอดคล้องกับการดำรงชีวิตตามแนวทางการทำการเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรแปลงใหญ่เป็นนโยบายหนึ่งที่ถูกนำปรับใช้เพื่อให้เกิดการรวมตัวกันของเกษตรกร ส่งผลให้สามารถเพิ่ม productivity ลงทุน เทคโนโลยี คุณภาพสูงแล้วลดต้นทุนได้เป็นอย่างดี อีกทั้ง การถ่ายทอดเทคโนโลยีและการให้บริการความรู้แก่เกษตรกรจากหน่วยงานภาครัฐสามารถทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งคณะวิจัยได้ทำการตรวจเอกสารและปรึกษาหารือกับเกษตรกร พบว่า ปัจจุบันจังหวัดชุมพรเป็นพื้นที่หนึ่งที่มีการปลูกปาล์มน้ำมัน (Oil palm) กันเป็นจำนวนมาก โดยในปี 2555 จังหวัดชุมพรมีพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมันที่ให้ผลผลิตมากเป็นอันดับที่ 3 รองจากจังหวัดสุราษฎร์ธานี และจังหวัดกระบี่ ตามลำดับ ซึ่งมีพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมันประมาณ 7.44 แสนไร่ และให้ผลผลิตประมาณ 2.24 ล้านตัน ซึ่งสวนปาล์มน้ำมันของเกษตรกรส่วนใหญ่จะมีการวางตำแหน่งการปลูกปาล์มน้ำมันเป็นแนวรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า (ระยะปลูก 9 x 9 x 9 เมตร ที่มีความหนาแน่น 22 ต้นต่อไร่) เพื่อสวนปาล์มน้ำมันจะได้มีพื้นที่ว่างระหว่างแถวมากที่สุด และนิยมขุดร่องน้ำภายในสวนปาล์มน้ำมันเพื่อป้องกันน้ำท่วมขัง ซึ่งจากการสังเกตพบว่าภายในร่องน้ำนั้นจะมีน้ำอยู่ในระดับสูงเกือบตลอดทั้งปี แต่เกษตรกรส่วนใหญ่จะใช้บริเวณร่องน้ำนี้เป็นเพียงที่ทิ้งทางใบปาล์มน้ำมันเท่านั้น แนวทางหนึ่งที่ในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่อย่างจำกัดเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งเป็นวัตถุประสงค์ของเกษตรแปลงใหญ่ นั้นก็คือ ควรมีการส่งเสริมให้เกษตรกรเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในร่องสวนปาล์มน้ำมันโดยใช้อาหารที่ผลิตขึ้นเองภายในฟาร์มด้วยวัตถุดิบอาหารภายในท้องถิ่น เพื่อเป็นการลดการพึ่งพาอาหารเม็ดสำเร็จรูปจากภายนอก โดยพบว่าการเลี้ยงปลาดุกลูกผสมและปลานิลในร่องสวนปาล์มน้ำมันด้วยอาหารปลาดุกสำเร็จรูปผสมร่วมกับกากสลัดปาล์มซึ่งเป็นผลพลอยได้อีกชนิดหนึ่งจากโรงงานผลิตน้ำมันปาล์มที่มีปริมาณมาก ราคาถูกและสามารถหาได้ง่ายในท้องถิ่น ในอัตราส่วน 1 ต่อ 2 นั้น สามารถลดต้นทุนค่าอาหารในการเลี้ยงปลาดุกลูกผสมและปลานิลได้ โดยไม่ส่งผลต่อการเจริญเติบโต ทำให้การผลิตปลาดุกลูกผสมและปลานิล เกษตรกรจะเสียค่าอาหารปลาเพียง 12.69 และ 20.23 บาทต่อกิโลกรัม ตามลำดับ ดังนั้น โครงการนี้จึงเห็นควรจัดให้มีการอบรมถ่ายทอดผลการวิจัยออกไปยังกลุ่มเป้าหมายต่างๆ เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรใช้เป็นแนวทางในการประกอบอาชีพใหม่หรืออาชีพเสริม ด้วยการหันมาเลี้ยงปลาดุกลูกผสมและปลานิลควบคู่ไปกับการทำสวนปาล์มน้ำมันภายในกลุ่มเกษตรแปลงใหญ่อีกทั้งยังเป็นการพัฒนาระบบการปลูกปาล์มน้ำมันตามแนวทางการทำเกษตรแบบผสมผสาน (Integrated Farming) ซึ่งเป็นการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ดินและพื้นที่น้ำที่มีอยู่ให้มากที่สุดและยังเป็นการเกื้อกูลระหว่างพืชกับปลาส่งผลให้ต้นทุนในการปลูกปาล์มน้ำมันลดลงและยังช่วยลดความเสี่ยงในการขาดทุนจากการลงทุนในกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง โดยไม่ก่อให้เกิดผลเสียต่อสภาวะแวดล้อม อีกทั้งยังสามารถนำเอาปลาดุกลูกผสมและปลานิลที่ได้มาใช้เป็นอาหารภายในครอบครัวหรือนำไปขายเป็นรายได้เสริม นอกเหนือจากการขายผลปาล์มน้ำมันได้ อีกทางหนึ่งซึ่งสอดคล้องกับการดำรงชีวิตตามแนวทางการทำการเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อถ่ายทอดความรู้การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในร่องสวนปาล์มน้ำมันในกลุ่มเกษตรแปลงใหญ่ด้วยวัตถุดิบอาหารในท้องถิ่น
2 เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรใช้เป็นแนวทางในการประกอบอาชีพใหม่หรืออาชีพเสริม ในการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ และแก้ปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมอบรมฯสามารถเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในร่องสวนปาล์มน้ำมันในกลุ่มเกษตรแปลงใหญ่ด้วยวัตถุดิบอาหารในท้องถิ่นได้
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ผู้เข้าร่วมอบรมฯ สามารถใช้เป็นแนวทางในการประกอบอาชีพใหม่หรืออาชีพเสริม ในการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้และแก้ปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ผู้เข้าร่วมอบรมฯ สามารถเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในร่องสวนปาล์มน้ำมันในกลุ่มเกษตรแปลงใหญ่ด้วยวัตถุดิบอาหารในท้องถิ่นได้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละของการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.08 ล้านบาท 0.08
KPI 8 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
60 คน 60
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมอบรมฯสามารถเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในร่องสวนปาล์มน้ำมันในกลุ่มเกษตรแปลงใหญ่ด้วยวัตถุดิบอาหารในท้องถิ่นได้
ชื่อกิจกรรม :
อบรมฯการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในร่องสวนปาล์มน้ำมันในกลุ่มเกษตรแปลงใหญ่ด้วยวัตถุดิบอาหารในท้องถิ่นได้

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/03/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุทธนา  สว่างอารมย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 60 คนๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท 4,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 60 คนๆ ละ 150 บาท 1 มื้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,000.00 บาท 9,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือประกอบการฝึกอบรม ขนาด B5 (30 หน้า) จำนวน 60 เล่มๆละ 70 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท 4,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคคลากรของรัฐ) บรรยาย 4 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 1 คน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท 2,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคคลากรของรัฐ) ปฏิบัติ 3 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท 2 คน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 4 คนๆละ 200 บาท 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 800.00 บาท 800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น กากสลัดปาล์ม ลูกพันธุ์ปลาดุก อาหารปลา และสารเคมีป้องกันโรคสัตว์น้ำ ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 36,800.00 บาท 36,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น ปากกา กระดาษ ค่าถ่ายเอกสาร ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น แผ่นซีดี เม้าส์ หมึกปริ้น และเมนบอร์ด ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านงานครัว เช่น น้ำยาทำความสะอาด แปรงขัด ฟองน้ำ ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,800.00 บาท 2,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุก่อสร้าง เช่น ท่อน้ำPVC สายยาง กาวทาท่อPVC เลื่อย ตลับเมตร ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,000.00 บาท 9,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 80000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
ย.002 (2563) ผศ.ยุทธนา สว่างอารมย์
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำแบบผสมผสาน
ช่วงเวลา : 01/06/2563 - 20/09/2563
ตัวชี้วัด
5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล