15756 : โครงการการรวบรวมและอนุรักษ์ผักพื้นบ้าน(ผักกับลาบ)ภาคเหนือ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
นางรัตนา ศรีวิชัย (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 7/5/2563 14:26:59
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/04/2563  ถึง  30/09/2563
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  เยาวชน เกษตรกร และชาวบ้านในชุมชนบ้านโปง บ้านแม่โจ้ และผู้สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพสธ.-แม่โจ้) 2563 100,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
น.ส. วัชรินทร์  จันทวรรณ์
นาย เสกสรร  สงจันทึก
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 4.การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 63 MJU 4.2.3 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.7 ติดตามประเมินสัมฤทธิ์ผล และผลกระทบต่อชุมชนจากการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ วส63-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ วส63-2.4 เป็นหน่วยงานที่สนองงานโครงการตามพระราชดำริ
ตัวชี้วัด วส63-12. ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานโครงการตามพระราชดำริ
กลยุทธ์ วส63-2.4.1 สนับสนุนการดำเนินงานของมูลนิธิโครงการหลวงและโครงการตามพระราชดำริ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ผักพื้นบ้าน หรือผักกับลาบ ของทางภาคเหนือเป็นผักที่รับประทานคู่กับลาบเมือง หรือลาบเนื้อทางเหนือมาแต่ช้านาน มีความสำคัญกับวิถีชีวิตของคนภาคเหนือ ลาบเมือง ถือเป็นวัฒนธรรมการกินที่สำคัญของคนภาคเหนือ เนื่องจากมีความสัมพันธ์กับความเชื่อและการดำรงชีวิตของคนภาคเหนือ ในอดีตจะต้องมีกิจกรรมทางพุทธศาสนา การทำบุญงานเลี้ยง และพิธีกรรมต่าง ๆ เซ่นไหว้ หรือบรวงสรวงผีต่าง ๆ เช่น ผีบ้าน ผีป่า เมื่อทำการถวายแล้ว ถึงจะได้กินลาบร่วมกัน แต่ในปัจจุบัน ลาบถือเป็นอาหารขึ้นชื่อของทางภาคเหนือ และจะต้องทานคู่กับผักกับลาบชนิดต่าง ๆ เพื่อเพิ่มรสชาติและความอร่อย ซึ่งผักพื้นบ้านที่นิยมนำมารับประทานคู่กับลาบนั้น มีหลากหลายชนิด แต่ละชนิดมีกลิ่นและรสชาติเฉพาะตัว อีกทั้งยังมีสรรพคุณทางยาและมีประโยชน์ต่อร่างกาย บางชนิดมีฤทธิ์ในการช่วยต่อต้านมะเร็ง ยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง เช่น คาวตอง หรือพลูคาว ซึ่งในปัจจุบันผักพื้นบ้านหลายชนิดหารับประทานได้ยาก และคนรุ่นใหม่ไม่รู้จัก อาจจะทำให้สูญหายไป ดังนั้นโครงการ การรวบรวมและอนุรักษ์ผักพื้นบ้าน (ผักกับลาบ) ภาคเหนือจึงมีความสำคัญเพื่อรวบรวมและอนุรักษ์ผักพื้นบ้าน (ผักกับลาบ) ของภาคเหนือไว้ โดยรวบรวมผักพื้นบ้าน จำนวน 25 ชนิด เพื่อเป็นแหล่งศึกษาวิจัย แหล่งเรียนรู้ของเกษตรกร เยาวชนและผู้สนใจ ตลอดจนเป็นแหล่งบริการพันธุกรรมสำหรับเกษตรและผู้ที่สนใจ ซึ่งอนาคตผักพื้นบ้านอาจจะสามารถพัฒนาให้เป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญต่อไปได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เพื่อสำรวจ เก็บรวบรวมพันธุกรรมผักพื้นบ้าน (ผักกับลาบ) และพัฒนาเป็นแหล่งรวบรวมอนุรักษ์ผักพื้นบ้าน (ผักกับลาบ) ของภาคเหนือ
เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมอนุรักษ์ เรียนรู้ภูมิปัญญาผักพื้นบ้าน (ผักกับลาบ) สำหรับการบริการวิชาการแก่ชุมชนใกล้เคียง และผู้ที่สนใจ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การรวบรวม ดูแลรักษาและเพิ่มจำนวนโดยการขยายพันธุ์ผักพื้นบ้าน ผักกับลาบ
KPI 1 : ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ตัวชี้วัดที่ 2 การเพิ่มจำนวนโดยการขยายพันธุ์ผักพื้นบ้าน ผักกับลาบ (จำนวน 25 ชนิด x 20 ต้น)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
500 ต้น 500
KPI 3 : ตัวชี้วัดที่ 3 จำนวนผู้เข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 คน 100
KPI 4 : ตัวชี้วัดที่ 4 ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100000 บาท 100000
KPI 5 : ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ตัวชี้วัดที่ 6 จำนวนชนิดผักพื้นบ้าน (ผักกับลาบ) ที่รวบรวมและอนุรักษ์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
25 ชนิด 25
KPI 7 : ตัวชี้วัดที่ 7 เป็นแหล่งรวบรวมอนุรักษ์ เรียนรู้ภูมิปัญญาผักพื้นบ้าน (ผักกับลาบ)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แหล่ง 1
KPI 8 : ตัวชี้วัดที่ 8 เก็บรวบรวมพันธุกรรมผักพื้นบ้าน (ผักกับลาบ)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
25 ชนิด 25
KPI 9 : ตัวชี้วัดที่ 9 ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การรวบรวม ดูแลรักษาและเพิ่มจำนวนโดยการขยายพันธุ์ผักพื้นบ้าน ผักกับลาบ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 การรวบรวม ดูแลรักษาและเพิ่มจำนวนโดยการขยายพันธุ์ผักพื้นบ้าน ผักกับลาบ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.วัชรินทร์  จันทวรรณ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาโปสเตอร์ (ขนาด 80 x 120 เมตร จำนวน 10 ผืนๆละ 1,200 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท)
ค่าจ้างเหมาบริการ ด้านการเกษตร (จำนวน 1 คน เดือนละ 7,000 บาท จำนวน 6 เดือน เป็นเงิน 42,000 บาท)
ค่าจ้างเหมาจัดทำรายงาน (ขนาด เอ4 ( 40 หน้า) จำนวน 4 เล่มๆ ละ 250 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 54,000.00 บาท 1,000.00 บาท 55,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร
ขี้วัว จำนวน 100 กระสอบ x 35 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท
สารกำจัดหนอนชีวภาพอินทรีย์ (BT) จำนวน 6 ขวด x 500 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
สารกำจัดแมลงชีวภาพอินทรีย์ (BS) จำนวน 5 ขวด x 500 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท
ดินเพาะปลูก 2 ลำ x 1,800 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
ขุยมะพร้าว 10 กระสอบ x 90 บาท เป็นเงิน 900 บาท
กาบมะพร้าวสับ 20 กระสอบ x 90 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
สายยางรดน้ำ 2 ม้วน x 1,200 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
กระถางพลาสติกขนาด 15 นิ้ว 30 บาท x 500 กระถาง เป็นเงิน 15,000 บาท
ถุงดำ 5 x10 นิ้ว 60 บาท x 50 กิโลกรัม เป็นเงิน 300 บาท
ปุ๋ยอินทรีย์ผง 10 กระสอบ x 450 บาท เป็นเงิน 4,500 บาท
ป้ายแท๊ค จำนวน 4 แพ็ค x 100 บาท เป็นเงิน 400 บาท
พลาสติกคลุมดิน ชนิดหนา 2 ม้วน x 1,200 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
ซาเลน 80 % ขนาดความกว้าง 2 เมตร ยาว 100 เมตร จำนวน 1 ม้วน x 2,000 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 45,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 45,000.00 บาท 0.00 บาท 45,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 100000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
การแพร่ระบาดของโรคและแมลงในผักพื้นบ้าน
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
หมั่นตรวจสอบและป้องกันโรคและแมลงอย่างสม่ำเสมอ
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล