15675 : โครงการฐานเรียนรู้การผลิตพืชในรูปแบบเกษตรอินทรีย์ฟาร์มมหาวิทยาลัย
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
ว่าที่ ร.ต.สมบูรณ์ ระดม (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 24/3/2563 14:30:49
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/04/2563  ถึง  30/09/2563
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  500  คน
รายละเอียด  เกษตรกร นักเรียน นักศึกษา และผู้สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ ฟาร์มมหาวิทยาลัย หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน งบโครงการบริการวิชาการ เบิกจ่ายจากสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร 2563 900,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ดร. สุรชัย  ศาลิรัศ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
ฟาร์มมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 4.การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 63 MJU 4.2.1 จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.1 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครอบคลุมห่วงโซ่คุณค่า เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ เมล็ดพันธุ์ ศัตรูพืช มาตรฐษน ประมง ปศุสัตว์ พืช ฟาร์ม ต้นแบบเกษตรยั่งยืน การแปรรูป ตลาด ฯลฯ ให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ยุคปัจจุบันมีการแข่งขันค่อนข้างสูงเพื่อให้ได้มาซึ่งโอกาสในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุข และตอบสนองความต้องการของตัวเองในทุกๆด้าน ภาวะดังกล่าวไม่ได้มีขีดจำกัดเฉพาะในสังคมเมืองเท่านั้น แต่ยังขยายวงกว้างสู่สังคมภายรอบนอกซึ่งก็คือสังคมที่ประกอบอาชีพทำการเกษตรเป็นอาชีพหลักนั่นเอง ภาวะเช่นนี้ส่งผลให้การดำเนินชีวิตเปลี่ยนไป จากที่เคยทำการเกษตรเพื่อบริโภคภายในครอบครัวหรือมีผลผลิตเหลือจากการบริโภคค่อยนำมาจำหน่าย กลับกลายมาเป็นทำเพื่อให้ได้ปริมาณผลผลิตที่มากขึ้นเนื่องจากมีภาระค่าใช้จ่ายของครอบครัวเป็นตัวกำหนด จากเหตุผลดังกล่าวส่งผลให้มีพื้นที่การผลิตพืชผลทางการเกษตรเพิ่มขึ้น ความหลากหลายของชนิดพืชที่ปลูกมากขึ้น และมีระยะการปลูกพืชถี่ขึ้น ตามลำดับ เมื่อเป็นเช่นนี้ธาตุอาหารพืชที่อยู่ในดินก็ถูกใช้มากขึ้นตาม พื้นที่เพาะปลูกที่ไม่มีการพักดิน พักการสะสมอาหาร ก็ส่งผลให้ดินเป็นแหล่งสะสมของโรคพืช และแมลง รวมถึงวงจรการผลิตที่ไม่มีการเว้นช่วงก็เป็นการเปิดโอกาสให้แมลงศัตรูพืชขยายพันธุ์อย่างรวดเร็ว ผลที่ตามมาก็คือเกษตรกรต้องหันมาพึ่งปัจจัยการผลิตที่เป็นสารเคมีเพื่อเพิ่มความสมบูรณ์ให้กับพืช และป้องกันความเสียหายของพืชจากโรคและแมลง และมีแนวโน้มที่จะมีปริมาณการใช้ที่มากขึ้นในทุกๆปี โดยเปรียบเทียบจากปริมาณและมูลค่าการนำเข้าปัจจัยการผลิตสินค้าเกษตรของสำนักงานเศรษฐกิจแห่งชาติพบว่า ปี 2552 มีการนำเข้าปุ๋ยเคมี 3,833.072 ตัน มูลค่า 42,666 ล้านบาท และต่อมาในปี 2556 มีการนำเข้าปุ๋ยเพิ่มขึ้นเป็น 5,638.891 ตัน มูลค่า 72,259 ล้านบาท และในส่วนของสารกำจัดวัชพืช,โรค-แมลง พบว่า ปี 2551/2555 นำเข้า 109,969/134,480 ตัน (www.oae.go.th) ค้นเมื่อ 19 พฤศจิกายน 2557 จากข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าการผลิตพืชของไทยในปัจจุบันยังต้องพึ่งพาปัจจัยการผลิตจากต่างประเทศ และมีแนวโน้มการนำเข้าเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากสภาวะดังกล่าวส่งผลให้ประชากรของประเทศเสี่ยงต่อการบริโภคอาหารที่มีสารปนเปื้อนค่อนข้างสูง โดยในรอบ 5 ปีที่ผ่านมาพบอัตราการป่วยจากโรคติดเชื้อที่เกิดจากน้ำและอาหารที่ไม่สะอาดปีละประมาณ 2 ล้านราย ขณะเดียวกันการป่วยและเสียชีวิตจากโรคมะเร็งในปี 2549 พบผู้เสียชีวิตจากโรคดังกล่าวถึง 60,000 ราย (www.thailabonline.com) ค้นเมื่อ 19 พฤศจิกายน 2557 จากสถิติดังกล่าวถ้ามองในแง่ของการช่วยให้ปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้นและมีคุณภาพตรงกับความต้องการของตลาด ก็ถือว่ายังไม่มีสิ่งใดมาตอบสนองความต้องการของเกษตรกรในจุดนี้ได้ แต่ถ้ามองในแง่ของผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและอันตรายต่อผู้ปฏิบัติงานตลอดจนผู้บริโภคแล้วก็ไม่มีใครปฏิเสธได้ถึงผลกระทบดังกล่าว แต่ปัญหาอยู่ที่เกษตรกรเองยังมีความเชื่อมั่นต่อปัจจัยการผลิตดังกล่าวประกอบกับสภาพชีวิตความเป็นอยู่ในปัจจุบันที่เงินเป็นปัจจัยที่ 5 ในการดำรงชีวิตทำให้เกษตรกรต้องพึ่งพาสิ่งที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการได้อย่างรวดเร็ว จนทำให้ลืมนึกถึงผลกระทบที่จะตามมาในระยะยาว ดังนั้นเหตุผลดังกล่าว สำนักฟาร์มมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จึงจัดทำโครงการฐานเรียนรู้การผลิตพืชในรูปแบบเกษตรอินทรีย์สำนักฟาร์มมหาวิทยาลัย จากต้นน้ำสู่ปลายน้ำ ซึ่งเป็นแนวทางการผลิตที่ปลอดภัยจากสารพิษตกค้าง โดยผลผลิตจากการทำเกษตรอินทรีย์สามารถเพิ่มมูลค่าได้มากกว่า 1 เท่าตัวของราคาตลาด สำนักฟาร์มมหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีพื้นที่สำหรับการผลิตพืชแบบเกษตรอินทรีย์ที่ฟาร์มบ้านโปงกว่า 100 ไร่ โดยแบ่งเป็น พื้นที่ปลูกลำไยอินทรีย์ จำนวน 20 ไร่ มะม่วงน้ำดอกไม้สีทองอินทรีย์ จำนวน 20 ไร่ ยางพาราอินทรีย์ จำนวน 30 ไร่ และพืชผักอินทรีย์ จำนวน 1.5 ไร่ ซึ่งได้รับการรับรองแปลงพื้นที่เกษตรอินทรีย์ จากกรมวิชาการเกษตร และระบบมาตรฐาน IQSแม่โจ้ แล้วนั้น และมีโครงการปลูกไม้ผลอินทรีย์ อีกจำนวน 40 ไร่ อาทิเช่น เงาะ ทุเรียน เมล่อน องุ่น มะนาว แก้วมังกร ฯ และพื้นที่ปลูกมะม่วงอินทรีย์อำเภอพร้าว ทั้งนี้เพื่อสนองนโยบายของมหาวิทยาลัยเพื่อก้าวเข้าสู่การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว ประกอบกับสำนักฟาร์มฯมีหน้าที่หลักในการให้บริการวิชาการแก่เกษตรกรและผู้ที่สนใจ รวมทั้งในแต่ละปีได้รับนักศึกษาจากหลายสถาบันเพื่อเข้ารับการฝึกงาน การที่ทางสำนักฟาร์มจะจัดตั้งฐานเรียนรู้เพื่อสาธิตการผลิตพืชอินทรีย์ จึงเป็นแนวทางและต้นแบบที่ควรผลักดัน เพราะเมื่อนับรวมผู้เข้าศึกษาดูงานและนักศึกษาที่เข้ารับการฝึกงานในแต่ละปี ก็จะสามารถนำแนวคิดและความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตัวเองจนขยายผลไปสู่การเผยแพร่ต่อระดับชุมชนต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อเป็นฐานเรียนรู้การผลิตพืชในรูปแบบเกษตรอินทรีย์ฟาร์มมหาวิทยาลัย
เพื่อเป็นการถ่ายทอดเทคโนโลยีและบริการวิชาการให้กับเกษตรกร ผู้ผลิต ในการผลิตพืชอินทรีย์อย่างถูกวิธี ก่อให้เกิดองค์ความรู้และการบริหารจัดการที่ดี
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ฐานเรียนรู้การผลิตพืชในรูปแบบเกษตรอินทรีย์ฟาร์มมหาวิทยาลัย
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 4 : จำนวนผู้เข้ามาศึกษาดูงานในฐานเรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 300 100 คน 500
KPI 5 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.9 ล้านบาท 0.9
KPI 6 : จำนวนฐานเรียนรู้เกษตรอินทรีย์สำนักฟาร์มมหาวิทยาลัย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
7 ฐาน 7
KPI 7 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ฐานเรียนรู้การผลิตพืชในรูปแบบเกษตรอินทรีย์ฟาร์มมหาวิทยาลัย
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรม
1.ฐานเรียนรู้เกษตรอินทรีย์แบบผสมผสาน
2.ฐานเรียนรู้เทคโนโลยีการผลิตผักสดในระบบเกษตรอินทรีย์
3.ฐานการเรียนรู้การผลิตไม้ผลต่างถิ่น (เงาะ ทุเรียน ลองกอง)
4.ฐานการเรียนรู้การผลิตไม้ผลในโรงเรือน (องุ่น เสาวรส)
5. . ฐานเรียนรู้เทคโนโลยีการผลิตลำไยคุณภาพ ในระบบเกษตรอินทรีย์เพื่อชุมชน
6.ฐานเรียนรู้การผลิตมะม่วงอินทรีย์เชิงพาณิชย์
7.ฐานเรียนรู้การผลิตกิ่งพันธุ์ไม้ผลรับรองพันธุ์
ขั้นตอนการดูแลรักษา
- กำจัดวัชพืชในแปลงปลูก
- ตัดแต่งกิ่งเสริมสร้างความสมบูรณ์
- ใส่ปุ๋ยบำรุง และให้น้ำ
- พ่นสารชีวภัณฑ์ ป้องกันโรคและแมลง
- เก็บเกี่ยวผลผลิต
เก็บข้อมูลผู้มาศึกษาดูงานและสรุปผลจัดทำรายงาน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ว่าที่ ร.ต.สมบูรณ์  ระดม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายสถาพร  ฉิมทอง (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายธนภัทร  เย็นมาก (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายณัฏฐชัย  อัฐวงศ์ชยากร (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายกฤษณโชติ  ประชาโรจน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ดร.สุรชัย  ศาลิรัศ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการตัดแต่งกิ่ง ลำไย จำนวน 10 ไร่ ๆ ละ 3,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 35,000.00 บาท 0.00 บาท 35,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการกำจัดวัชพืชแปลงลำไย จำนวน 10 ไร่ ๆ ละ 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ ลำไย จำนวน 10 ไร่ ๆ ละ 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการพ่นสารชีวพันธุ์ ลำไย จำนวน 10 ไร่ ๆ ละ 2,000 บาท จำนวน 2 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการตัดแต่งกิ่ง มะม่วง จำนวน 20 ไร่ ๆ ละ 2,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการกำจัดวัชพืชแปลงมะม่วงจำนวน 20 ไร่ๆ ละ 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการพ่นสารชีวพันธุ์ มะม่วง จำนวน 20 ไร่ ๆ ละ 2,000 บาท จำนวน 2 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการเก็บผลผลิตและคัดเกรดมะม่วง จำนวน 20 ๆ ไร่ ละ 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการทำโคนต้นมะม่วง (เตรียมความพร้อมก่อนใส่ปุ๋ย)จำนวน 20 ไร่ ๆ ละ 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการทำโคนต้นลำไย (เตรียมความพร้อมก่อนใส่ปุ๋ย)จำนวน 10 ไร่ ๆละ 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการทำแปลงปลูกผักอินทรีย์จำนวน 4 ไร่ ๆ ละ 2,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงานได้แก่ กระดาษเอ 4 เครื่องเขียน สันรูด แฟ้มรายงาน ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์ได้แก่ หมึกพิมพ์ ดีวีดี ซีดี ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 31,750.00 บาท 0.00 บาท 31,750.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตรได้แก่ วัสดุเพาะกล้า ถาดเพาะกล้า ขุยมะพร้าว ไม้ค้าง เข่ง คราด พลั่ว, ช้อนพรวน ตอกเสียบแปลง ต้นกล้าพืชผัก ปุ๋ยอินทรีย์ ถุงห่อมะม่วง สารชีวพันธ์ ฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 485,000.00 บาท 0.00 บาท 485,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่นได้แก่ น้ำมันเชื้อเพลิงใช้สำหรับดูแลกำจัดวัชพืชภายในแปลง ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 58,250.00 บาท 0.00 บาท 58,250.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุก่อสร้าง ได้แก่ ท่อพีวีซี ปูน ข้อต่อ ข้องอ อิฐบล็อก ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 900000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ได้รับงบประมาณไม่ตรงกับแผนที่วางไว้
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ปรับแผนการดำเนินงานให้สอดคล้องกับงบประมาณที่ได้รับ
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล