15092 : โครงการเพิ่มศักยภาพและขีดสมรรถนะของชุมชน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
นางกัลยารัตน์ วงศ์แก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 29/4/2563 14:45:09
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
20/11/2562  ถึง  30/09/2563
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  150  คน
รายละเอียด  นักศึกษา กลุ่มเกษตรกร และประชาชนทั่วไปในจังหวัดเชียงใหม่
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณเงินรายได้ของคณะ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป จำนวน 20,000 บาท 2563 20,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาง ณัฏฐกานต์  มุกดาจตุรพักตร์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชาตรี  วิระสิทธิ์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 4.การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 63 MJU 4.2.3 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.7 ติดตามประเมินสัมฤทธิ์ผล และผลกระทบต่อชุมชนจากการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ FT-63-4. การบูรณาการองค์ความรู้ที่เพิ่มศักยภาพและขีดสมรรถนะของชุมชนและสนองงานโครงการในพระราชดำริ
เป้าประสงค์ FT-63-4.1 เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของคนทุกระดับ
ตัวชี้วัด FT-63-4-1 ระดับความสำเร็จของการบูรณาการผลงานบริการวิชาการสู่พันธกิจอื่นๆ ของคณะ
กลยุทธ์ FT-63-4.1.1 ส่งเสริมการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับพันธกิจอื่นๆ
ตัวชี้วัด FT-63-4-2 จำนวนองค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัยและ/หรือ การบริการวิชาการ
กลยุทธ์ FT-63-4.1.3 ดำเนินการกับเครือข่ายกับหน่วยงานภายนอกในการบูรณาการองค์ความรู้ทางการประมงกับการให้บริการวิชาการแก่สังคมอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด FT-63-4-5 จำนวนเครือข่ายชุมชนและเป็นห้องเรียนที่มีชีวิตให้แก่นักศึกษา
กลยุทธ์ FT-63-4.1.4 สร้างความเข้มแข็งเครือข่ายของชุมชน และเป็นห้องเรียนที่มีชีวิตให้แก่นักศึกษา
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

เนื่องด้วยคณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นหน่วยงานที่มีการศึกษาวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านการประมง และทรัพยากร ทางน้ำอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมีผลงานวิจัยที่สามารถตอบโจทย์ปัญหาและเกิดประโยชน์แก่เกษตรกรเป็นจำนวนมาก นอกจากนี้ยังมีการนำองค์ความรู้ไปพัฒนา และจัดตั้งเป็นฐานเรียนรู้ทางการประมงซึ่งตั้งอยู่ภายในกำกับดูแลของคณะฯ อันได้แก่ ฐานเรียนรู้ปลาบึก สาหร่ายและแพลงก์ตอน ปลานิลแปลงเพศ การเพาะเลี้ยงกุ้งฝอย สถานแสดงพรรณปลาภาคเหนือ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาทางน้ำแม่โจ้ และการจัดตั้งฐานเรียนรู้การเพาะเลี้ยงกบนา การเพาะเลี้ยงปูนา การเพาะเลี้ยงปลาสวยงาม โดยมีการเผยแพร่ความรู้ และถ่ายทอดเทคโนโลยีจากการวิจัยและฐานเรียนรู้ต่างๆ สู่เกษตรกร เยาวชน นักเรียน นักศึกษา ผู้สนใจและชุมชน ในรูปแบบกิจกรรมที่หลากหลาย อาทิเช่น การออกหน่วยบริการวิชาการแก่สังคม การจัดนิทรรศการผลงานทางวิชาการ การจัดกิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การให้บริการศึกษาดูงานฐานเรียนรู้จากหน่วยงานภายนอก และการบริการทางสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ เป็นต้น และเพื่อส่งเสริมให้บุคลากรมีการพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการบริการวิชาการอย่างเหมาะสม ทันต่อสภาวการณ์ และมีความต่อเนื่อง นอกจากนี้ในการให้บริการวิชาการ มุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพของชุมชนเป้าหมายที่ได้รับการให้บริการองค์ความรู้และร่วมบูรณาการกับบุคลากรภายในคณะฯ ได้รับการส่งเสริมเพื่อพัฒนาเป็นชุมชนที่มีความสามารถในการผลิตผลผลิตสัตว์น้ำแบบครบวงจร อาทิเช่น กลุ่มผู้เลี้ยงปลาอำเภอสันทราย กลุ่มเกษตรกรอาสาบ้านชมพู อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ เป็นต้น ดังนั้นคณะฯ จึงได้จัดทำโครงการเพิ่มศักยภาพและขีดสมรรถนะของชุมชนโดยมุ่งหวังให้เกษตรกรสามารถนำความที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุเป้าประสงค์ที่จะให้มหาวิทยาลัยเป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของคนทุกระดับต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อส่งเสริมสนับสนุนและจัดหากิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการที่มีการนำความรู้ของอาจารย์และบุคลากรมาบูรณาวิชาการและวิจัยด้านการประมงกับการให้บริการวิชาการสู่ชุมชน
เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และการให้บริการวิชาการใช้ประโยชน์ในการแก้ปัญหาของกลุ่มเกษตรกรอย่างมีประสิทธิภาพ
เพื่อสร้างความตระหนักในวิชาชีพประมงสำหรับนักศึกษาจากองค์ความรู้ที่ได้รับจากการเรียนการสอนและการฝึกปฏิบัติจริงกับชุมชนจากงานบริการวิชาการ
เพื่อสนับสนุนให้มีการบูรณาการกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการมาประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอนหรืองานวิจัย และภาคเกษตรกร
เพื่อพัฒนาการให้บริการวิชาการที่ได้รับระดับความพึงพอใจในการเข้ารับบริการวิชาการที่เหมาะสม
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้รับบริการจากงานบริการวิชาการมีความรู้ทางด้านการประมงแบบบูรณาการและสามารถนำไปพัฒนาชุมชนได้อย่างยั่งยืน
KPI 1 : ร้อยละของโครงการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 2 : ร้อยละของจำนวนนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ /กิจกรรมบริการวิชาการ(จากจำนวน 100 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ระดับคะแนนประโยชน์หรือผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของการเข้าร่วมโครงการต่อการเรียน (นักศึกษา)
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 คะแนน 3.51
KPI 4 : ร้อยละของจำนวนผู้รับบริการจากหน่วยงานภายนอก เช่น เกษตรกร ผู้สนใจ (จากจำนวน 50 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ระดับคะแนนประโยชน์หรือผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของการให้บริการวิชาการต่อชุมชน/องค์กร/สังคม (ผู้รับบริการทั่วไป)
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 คะแนน 3.51
KPI 6 : จำนวนครั้งในการจัดโครงการการสำรวจ ติดตาม และประเมินผล (ครอบคลุมทุกครั้งในการดำเนินกิจกรรม จากจำนวน 5 ครั้ง)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : จำนวนองค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัยและ/หรือการบริการวิชาการที่เพิ่มขึ้นจากรายวิชาที่ร่วมบูรณาการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เรื่อง 1
KPI 8 : ระดับคะแนนของความรู้ของนักศึกษาที่เพิ่มขึ้นหลังจากการเข้าร่วมโครงการ (นักศึกษา)
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 คะแนน 3.51
KPI 9 : จำนวนเครือข่ายชุมชนที่เข้าร่วมกิจกรรม (พัฒนา ต่อยอดองค์ความรู้ทางการประมงและทรัพยากรทางน้ำ และเป็นห้องเรียนที่มีชีวิตให้แก่นักศึกษา)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 1 1 ชุมชน 3
KPI 10 : ระดับคะแนนความพึงพอใจโดยรวมต่อการจัดโครงการ/กิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 คะแนน 3.51
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้รับบริการจากงานบริการวิชาการมีความรู้ทางด้านการประมงแบบบูรณาการและสามารถนำไปพัฒนาชุมชนได้อย่างยั่งยืน
ชื่อกิจกรรม :
โครงการเพิ่มศักยภาพและขีดสมรรถนะของชุมชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 20/11/2562 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายวินัย  การะเกตุ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายสุฤทธิ์  สมบูรณ์ชัย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางณัฏฐกานต์  มุกดาจตุรพักตร์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ขจรเกียรติ์  ศรีนวลสม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายวีระวัฒน์  ฟังเย็น (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายเทพพิทักษ์  บุญทา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชาตรี  วิระสิทธิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.โดม  อดุลย์สุข (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเดินทางไปสำรวจ ติดตาม ดำเนินงาน และประเมินผลการให้บริการวิชาการแก่สังคม (น้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับรถราชการ) จำนวน 5 ครั้งๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 500.00 บาท 1,000.00 บาท 1,000.00 บาท 2,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ สำหรับให้บริการวิชาการแก่ชุมชนด้านโรคสัตว์น้ำหรือบริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำ เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,000.00 บาท 3,000.00 บาท 5,000.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 500.00 บาท 500.00 บาท 1,000.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,000.00 บาท 1,000.00 บาท 1,000.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 2,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 500.00 บาท 1,000.00 บาท 1,000.00 บาท 2,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 20000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
จำนวนผู้เข้ารับบริการในกลุ่มบุคคลภายนอกไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด
เกษตรกรหรือบุคคลทั่วไปเข้ามาติดต่อขอรับบริการผ่านช่องทางงานประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยแม่โจ้ที่ไม่สามารถกำหนดการล่วงหน้าได้
องค์ความรู้ทางด้านการประมงบางเรื่องที่เกษตรกรต้องการขาดความต่อเนื่องในการพัฒนาและไม่พร้อมให้บริการ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
กรรมการบริการวิชาการและวิจัยดำเนินงานตามแผนและประเมินความต้องการของผู้รับบริการที่สอดคล้องตามวัตถุประสงค์
กรรมการบริการวิชาการดำเนินการพัฒนาระบบบริหารจัดการหน่วยด้วยการประชาสัมพันธ์ระบบและกลไกการให้บริการต่องานประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ดำเนินการประชาสัมพันธ์หัวข้อองค์ความรู้ทางการประมงและฐานเรียนรู้ภายในคณะฯ ผ่านช่องทางการให้บริการของหน่วยบริการวิชาการและวิจัย และเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ของคณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล