13977 : โครงการศูนย์รวบรวมและอนุรักษ์พันธุกรรมไม้ผลเศรษฐกิจแม่โจ้
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
นางจิรนันท์ เสนานาญ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 4/2/2562 14:36:34
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/02/2562  ถึง  30/09/2562
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา ประชาชนที่สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบอุดหนุนบริการวิชาการ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (อพ.สธ.) 2562 94,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาง จิรนันท์  เสนานาญ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61MJU4.2.4 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.7 ติดตามประเมินสัมฤทธิ์ผล และผลกระทบต่อชุมชนจากการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ วส62-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ วส62-2.5 เป็นแหล่งพัฒนาพันธุ์พืชหรือสัตว์
ตัวชี้วัด วส62-12. จำนวนพันธุ์พืชหรือสัตว์ที่ได้รับการพัฒนาพันธุ์
กลยุทธ์ วส62-2.5.1 พัฒนาสำนักวิจัยให้เป็นแหล่งพัฒนาพันธุ์พืชหรือสัตว์
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ประเทศไทยมีไม้ผลเศรษฐกิจที่สำคัญหลายชนิด ลำไย มะม่วง ส้ม กล้วยและน้อยหน่าเป็นไม้ผลเศรษฐกิจที่ปลูกกันอย่างแพร่หลาย มีการใช้ประโยชน์เพื่อการในประเทศ บางชนิดมีการส่งออกคิดเป็นมูลค่าหลายล้านบาท เช่น ลำไยและมะม่วง ในอดีตไม้ผลแต่ละชนิดส่วนใหญ่มีการปลูกหลากหลายพันธุ์ เช่น มะม่วงที่ปลูกในสมัยโบราณมีไม่ต่ำกว่า 100 สายพันธุ์ ต่อมามีการพัฒนาการปลูกโดยเน้นระบบเชิงค้าและส่งออก เกษตรกรจึงได้ทำการโค่นไม้ผลที่ไม่ใช่พันธุ์การค้าทิ้ง และยังคงเหลือไว้บ้างบางส่วน ทำให้พันธุกรรมของไม้ผลเศรษฐกิจที่มีลักษณะดีเด่นเฉพาะในด้านต่างๆ อาจสูญหายไป ดังนั้นโครงการรวบรวมและอนุรักษ์พันธุกรรมไม้ผลเศรษฐกิจที่ได้จัดทำขึ้นนี้จึงมีความสำคัญ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรักษาพันธุกรรมของไม้ผลเศรษฐกิจ 5 ชนิดมิให้สูญหาย ได้แก่ ลำไย ลิ้นจี่ มะม่วง ส้ม และน้อยหน่า การรวบรวมโดยจัดทำแปลงปลูกเพื่ออนุรักษ์จะพัฒนาไปสู่การสร้างศูนย์เรียนรู้พันธุกรรมไม้ผลเศรษฐกิจของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เพื่อเป็นแหล่งศึกษาวิจัย แหล่งเรียนรู้ของเกษตรกร เยาวชนและผู้สนใจ ตลอดจนเป็นแหล่งบริการพันธุกรรมสำหรับเกษตรที่ประสบปัญหาการขาดแคลนกล้าพันธุ์ไม้ผลจากปัญหาระบาดของศัตรูพืชหรืออุทกภัยในอนาคตต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1.เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
2. เพื่อปลูกและดูแลไม้ผลที่ได้ทำการรวบรวมและขยายพันธุ์ไม้ผลชนิดต่างๆให้มีปริมาณเพิ่มมากขึ้น
3. เพื่อศึกษาลักษณะประจำพันธุ์ไม้ผลชนิดต่างๆได้แก่ มะม่วง ลำไย ลิ้นจี่ น้อยหน่าและส้ม
4.เพื่อเป็นศูนย์รวบรวมเรียนรู้พันธุกรรมไม้ผล และศึกษาวิจัยและพัฒนาการใช้ประโยชน์พันธุกรรมไม้ผลด้านการปรับปรุงพันธุ์
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : 1.การปลูกใหม่ต้นไม้ผลและการดูแลต้นไม้ผลที่ปลูกแล้ว พร้อมขยายพันธุ์ให้มีจำนวนเพิ่มขึ้น (มะม่วง ลำไย ,ลิ้นจี่,น้อยหน่าและส้ม)
KPI 1 : การปลูกไม้ผล ได้แก่ ส้ม และการดูแลต้นไม้ผลที่ปลูกแล้ว พร้อมขยายพันธุ์ให้มีจำนวนเพิ่มขึ้น ได้แก่ มะม่วง ลิ้นจี่ ลำไย น้อยหน่า (จำนวน 5ชนิด x50 ต้น)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ต้น 250
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของงานบริการวิชาการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 4 : การศึกษาลักษณะประจำพันธุ์ของมะม่วง ลำไย ลิ้นจี่ น้อยหน่าและส้ม (5 ชนิดๆละ 10 พันธุ์)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 พันธุ์ 50
KPI 5 : จำนวนผู้เข้าศึกษาดูงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 50
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : 1.การปลูกใหม่ต้นไม้ผลและการดูแลต้นไม้ผลที่ปลูกแล้ว พร้อมขยายพันธุ์ให้มีจำนวนเพิ่มขึ้น (มะม่วง ลำไย ,ลิ้นจี่,น้อยหน่าและส้ม)
ชื่อกิจกรรม :
การปลูกใหม่ต้นไม้ผลและการดูแลต้นไม้ผลที่ปลูกแล้ว พร้อมขยายพันธุ์ให้มีจำนวนเพิ่มขึ้น

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 04/02/2562 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาทำโปสเตอร์ติดโฟมบอร์ดพร้อมออกแบบขนาด 80 x120 ซม. (10 แผ่นx 1,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงานเช่น กระดาษ ปากกา แฟ้ม
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุการเกษตร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 82,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 94000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล