13830 : โครงการ ปรับปรุงดูแลศูนย์เรียนรู้การปลูกพืชอนุรักษ์ภายใต้ในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ) ในพื้นที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 4/2/2562 10:36:26
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย(เบิกจ่ายจากงบยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
04/01/2562  ถึง  30/09/2562
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  เกษตร นักเรียน นักศึกษา และประชาชนที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 2562 94,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พาวิน  มะโนชัย
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61MJU4.2.1 จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.1 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครอบคลุมห่วงโซ่คุณค่า เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ เมล็ดพันธุ์ ศัตรูพืช มาตรฐษน ประมง ปศุสัตว์ พืช ฟาร์ม ต้นแบบเกษตรยั่งยืน การแปรรูป ตลาด ฯลฯ ให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ 3. เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านเกษตร
เป้าประสงค์ 3.3 เป็นมหาวิทยาลัยที่สนองงานโครงการในพระราชดำริ
ตัวชี้วัด 3.3.1 จำนวนโครงการสนองงานในพระราชดำริ/โครงการอพสธ /โครงการภายใต้เศรษฐกิจพอเพีย
กลยุทธ์ บูรณาการโครงการพระราชดำริ กับพันธกิจหลักของมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 3.3.1 จำนวนโครงการสนองงานในพระราชดำริ/โครงการอพสธ /โครงการภายใต้เศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธ์ บูรณาการโครงการพระราชดำริกับพันธกิจหลักของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

พืชมะเกี๋ยง และพืชอนุรักษ์อื่นๆ ยกตัวอย่าง เช่น พืชมะกิ้ง พืชน้อยหน่าเครือ พืชตีนฮุ้งดอย พืชชาเมี่ยง พืชกล้วยไม้ พืชทุเรียนเมืองนนท์ เป็นต้น เป็นพืชที่ทางคณะปฏิบัติการ อพ.สธ ได้กำหนดให้เป็นพืชอนุรักษ์และให้ศึกษาการใช้ประโยชน์ขึ้น แล้วเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เป็นพืชเศรษฐกิจและพัฒนาให้เป็นพืชอุตสาหกรรม หรือพืชเศรษฐกิจในอนาคต และเพื่อเป็นพืชนำร่องหรือเป็นพืชตัวอย่างที่จะทำการศึกษาจากพืชที่มีโอกาสใกล้สูญพันธุ์แล้ว นำศึกษาวิจัย ต้องใช้ความพยายามและทรัพยากรด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องบุคลากรนักวิจัยเครื่องมืออุปกรณ์ห้องปฏิบัติการ งบประมาณรวมทั้งการจัดการมากซึ่งงานวิจัยพัฒนามะเกี๋ยงที่ผ่านมาเป็นการดำเนินการในเบื้องต้นยังต้องมีการ ศึกษาในขั้นต่อๆไปที่สำคัญจากการสำรวจของคณะปฏิบัติการวิทยาการอพ.สธ.ในพื้นที่ต่างๆได้พบพืชมากมายที่มีศักยภาพและภูมิปัญญาที่จะนำไปพัฒนาให้เกิดประโยชน์โดยแท้ โดยมีผลิตภัณฑ์ออกมาจำหน่ายมากมาย เช่น โยเกริตมะเกี๋ยง น้ำมะเกี๋ยงพร้อมดื่ม น้ำมะเกี๋ยงเข้มข้น ชาใบมะเกี๋ยง เป็นต้น การส่งเสริมและการถ่ายทอดองค์ความรู้นั้น สิ่งจำเป็นที่เห็นเป็นรูปธรรมและเข้าใจง่ายที่สุด คือการสร้างฐานเรียนรู้ให้ผู้ที่มารับ หรือศึกษาหาความรู้ได้เข้าใจมากที่สุด ซึ่งงานวิจัยพัฒนามะเกี๋ยงที่ผ่านมาเป็นการดำเนินการในเบื้องต้นยังต้องมีการศึกษาในขั้นตอนต่อๆไปการสำรวจของคณะปฏิบัติการวิทยาการอพ.สธ.ในพื้นที่ต่างๆได้พบพืชมากมายที่มีศักยภาพและภูมิปัญญาที่จะนำไป พัฒนาให้เกิดประโยชน์โดยแท้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ จึงความประสงค์ที่ต้องการสร้างฐานเรียนรู้การปลูกพืชอนุรักษ์อื่นๆ ดังกล่าวขึ้น ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ เพื่อให้บริการวิชาการให้แก่ นักวิจัย คณาจารย์ นักเรียน นักศึกษา ประชาชนทั่วไปที่สนใจ ได้ศึกษาเรียนรู้เพื่อนำไปต่อยอด และใช้ประโยชน์ต่อไป โครงการศึกษาพัฒนาการปลูกพืชมะเกี๋ยง และพืชอนุรักษ์อื่นๆ ที่ปลูกในสภาพพื้นที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ จึงได้จัดตั้งขึ้นเพื่อสร้างเป็นศูนย์เรียนรู้ และเพื่อรวบรวม รักษา และเพื่อขยายผลการปลูกพืชอนุรักษ์ต่างๆ ซึ่งมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ได้ดำเนินการปลูก เช่น แปลงทดสอบการปลูกพืชมะเกี๋ยง จำนวน 1,200 ต้น

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อเป็นแปลงอนุรักษ์ การศึกษาการใช้ประโยชน์ และการพัฒนาพืชมะเกี๋ยง ในสภาพพื้นที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้ -แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
2. เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ การปลูก รวบรวม และการสร้างจิตสำนึกการอนุรักษ์พืชท้องถิ่นต่าง ๆ ใกล้สูญพันธุ์
3. เพื่อเป็นแปลงสาธิตในด้านการศึกษาค้นคว้า การพัฒนา การทดลอง การวิจัย การบริการวิชาการ การเรียนการสอน ของนักศึกษาและประชาชนทั่วไป
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการ ปรับปรุงดูแลศูนย์เรียนรู้การปลูกพืชอนุรักษ์ภายใต้ในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ) ในพื้นที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
KPI 1 : จำนวนต้นมะเกี๋ยง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ต้น 120
KPI 2 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการ ปรับปรุงดูแลศูนย์เรียนรู้การปลูกพืชอนุรักษ์ภายใต้ในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ) ในพื้นที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ชื่อกิจกรรม :
ปรับปรุงดูแลศูนย์เรียนรู้การปลูกพืชอนุรักษ์ภายใต้ในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ) ในพื้นที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 04/01/2562 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตะวัน  ฉัตรสูงเนิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ศุกรี  อยู่สุข (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายสิทิไวกูล  ทิราวงศ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายกิติพงษ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาตัดหญ้า จำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 15,000 บาท เป็นเงิน 30,000 บาท
2. ค่าจ้างเหมาตัดแต่งกิ่งและใส่ปุ๋ยต้นมะเกี๋ยง จำนวน 1 งาน ๆ ละ 30,000 บาท เป็นเงิน 30,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 60,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร (ปุ๋ยคอก) จำนวน 680 กระสอบๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 34,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 34,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 94000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล