13689 : โครงการเครื่องสูบน้ำพลังงานแสงอาทิตย์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
นายทวิช เตี่ยไพบูลย์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 4/3/2562 14:25:43
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/12/2561  ถึง  30/09/2562
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  กลุ่มเป้าหมาย จำนวน...........30..................คน ประกอบด้วยเกษตรกรในพื้นที่อำเภอละแม จังหวัดชุมพร
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน โครงการบริการวิชาการ 2562 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย ทวิช  เตี่ยไพบูลย์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.1 ระบบการบริหารจัดการงานบริการ วิชาการที่ดี มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 61MJU4.1.1 ร้อยละของงบประมาณบริการวิชาการ (ทั้งงบแผ่นดินและรายได้) ที่เพิ่มขึ้น
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.1.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ 3.การบริการวิชาการด้านการเกษตรสุขภาวะเพื่อสังคมชุมชน
เป้าประสงค์ 3.1 เป็นโครงการบริการวิชาการที่ยกระดับความเข้มแข็งให้กับชุมชน
ตัวชี้วัด 3.1.1 ร้อยละงบประมาณบริการวิชาการ ที่ได้รับการสนับสนุนที่เพิ่มขึ้น
กลยุทธ์ 1. กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการ และพัฒนาโครงการสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

พลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานจากธรรมชาติที่มีความสะอาดปราศจากการก่อมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมมีปริมาณมากมายมหาศาลอยู่ทั่วทกหนทุกแห่งของโลกและสามารถนำมาใช้ได้อย่างไม่มีวันหมดสิ้นดังนั้นมนุษย์สามารถนำพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพก็จะเป็นแนวทางในการแก้ไขสภาพความไม่แน่นอนของราคาจากพลังงานน้ำมันที่มีแนวโน้มสูงขึ้นและมีความผันผวนสูงส่งผลกระทบต่อการพัฒนาของประเทศที่จำเป็นต้องพึ่งพาการนำเข้าน้ำมันและประเทศไทยก็ได้รับผลกระทบจากปัญหานี้เป็นอย่างมาก (สำนักงานพัฒนาพลังงานแสงอาทิตย์,2551) การนำพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้ประโยชน์ในการผลิตกระแสไฟฟ้าในการเพาะปลูกผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรก็เป็นทางเลือกหนึ่งที่จะช่วยลดต้นทุนในกระบวนการผลิตลดภาระค่าใช้จ่ายของกลุ่มผู้ผลิตได้ดังนั้นเพื่อเป็นการส่งเสริมให้เกิดการนำพลังงานทดแทนมาใช้ในชุมชนให้เกิดประโยชน์จึงเป็นแนวทางหนึ่งที่สามารถกระทำได้นอกจากจะประหยัดและลดต้นทุนในกระบวนการผลิตสินค้าทางการเกษตรนอกจากนี้ยังต้นแบบในการถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่หน่วยงานหรือชุมชนหรือผู้ที่สนใจเข้ามาศึกษาและหาความรู้ถือเป็นการกระตุ้นให้คนในชุมชนเกิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์และการส่งเสริมและการสนับสนุนให้คนในชุมชนหันมาใส่ใจด้านสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ดังนั้นเพื่อเป็นการวางแผนระบบบริหารจัดการทำการเกษตรของเกษตรกร จึงควรนำพลังงานทดแทนจากพลังงานแสงอาทิตย์ในการสูบน้ำสำหรับการดูแลบำรุงรักษาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรและยังเป็นต้นแบบให้แก่เกษตรกรในพื้นที่อื่น ๆ ของจังหวัดชุมพรบุคลากรนักศึกษาและผู้ที่สนใจมาเรียนรู้เรื่องของการเพาะปลูกพืชต่างๆแล้วสามารถเรียนรู้เรื่องของการประยุกต์ใช้พลังงานทดแทนในการผลิตผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรได้อีกทางหนึ่งด้วย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1.เพื่อจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับระบบการจัดทำเครื่องสูบน้ำโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ให้แก่เกษตรกร
2.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำเกษตรสำหรับเกษตรกร และสามารถลดต้นทุนในการผลิตช่วยให้เกษตรกร
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เกษตรกรสามารถผลิตเครื่องสูบน้ำพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้ในแปลงเกษตรได้
KPI 1 : -ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพทางด้านการเกษตรของเกษตรกรได้
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 80 ร้อยละ 80
KPI 2 : -ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 80 ร้อยละ 80
KPI 3 : -ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 4 : -ร้อยละของการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 5 : -เกษตรกรมีความรู้และสามารถประยุกต์ใช้เครื่องสูบน้ำพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับการทำเกษตร
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 6 : -ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ล้านบาท 0.05
KPI 7 : -จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 30
KPI 8 : -ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เกษตรกรสามารถผลิตเครื่องสูบน้ำพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้ในแปลงเกษตรได้
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับระบบการจัดทำเครื่องสูบน้ำโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ให้แก่เกษตรกร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายทวิช  เตี่ยไพบูลย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
-ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 30 คนๆละ 1มื้อๆ ละ 200 บาท 2 วัน เป็นเงิน 12,000บาท
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30คน ๆละ 2มื้อ ๆ ละ 50บาท 2 วัน เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 18,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
-ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย จำนวน 3 ชม. ๆ ละ 600 บาท 2 วัน 1 คน เป็นเงิน 3,600 บาท
-ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ จำนวน 3 ชม. ๆละ 300 บาท 2 วัน 2 คน เป็นเงิน3,600บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
-ค่าวัสดุไฟฟ้า เช่น สายไฟฟ้า ท่อไฟ ฯลฯ เป็นเงิน 19,800 บาท
-ค่าวัสดุก่อสร้าง เช่นท่อประปา ฯลฯ เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 24,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
1.เวลาว่างระหว่างผู้เข้าร่วมโครงการ/ ผู้จัดทำโครงการ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
1.จัดสรรเรื่องของเวลาให้ลงตัวกับทุกฝ่าย
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล