13688 : โครงการยุวเกษตรรักษ์วิถีพอเพียง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
น.ส.ตรีชฎา สุวรรณโน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 26/12/2561 14:59:48
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/12/2561  ถึง  30/09/2562
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  กลุ่มเป้าหมาย จำนวน...........30..................คน ประกอบด้วยนักเรียนและนักศึกษาในพื้นที่อำเภอละแมจังหวัดชุมพร
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน โครงการบริการวิชาการ 2562 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ดร. ณรงค์  โยธิน
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.1 ระบบการบริหารจัดการงานบริการ วิชาการที่ดี มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 61MJU4.1.1 ร้อยละของงบประมาณบริการวิชาการ (ทั้งงบแผ่นดินและรายได้) ที่เพิ่มขึ้น
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.1.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ 3.การบริการวิชาการด้านการเกษตรสุขภาวะเพื่อสังคมชุมชน
เป้าประสงค์ 3.1 เป็นโครงการบริการวิชาการที่ยกระดับความเข้มแข็งให้กับชุมชน
ตัวชี้วัด 3.1.1 ร้อยละงบประมาณบริการวิชาการ ที่ได้รับการสนับสนุนที่เพิ่มขึ้น
กลยุทธ์ 1. กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการ และพัฒนาโครงการสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 ( พ.ศ. 2555- 2559 ) ยังคงอัญเชิญปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางปฎิบัติควบคู่ไปกับการพัฒนาแบบูรณาการเป็นองค์รวมที่มีคนเป็นศูนย์กลางพัฒนาอย่างจริงจังเพื่อใช้เป็นแนวทางในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศให้เกิดความสมดุลเป็นธรรมและยั่งยืนมุ่งสู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกันอันจะเป็นการเสริมสร้างประโยชน์สูงสุดให้แก่ประชาชนโดยถ้วนหน้าสมดังพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภาวะการเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจของประเทศไทยทำให้การดำรงชีวิตของคนในสังคมไทยได้นำเอาสิ่งอำนวยความสะดวกในทุกๆด้านเข้ามาใช้ในชีวิตประจำวันแม้กระทั่งสิ่งอุปโภคและบริโภคต่างๆล้วนอำนวยความสะดวกต่อคนไทยในสังคมทั้งสิ้นด้วยเหตุผลข้างต้นทำให้การใช้ชีวิตของคนไทยที่ผ่านมานั้นถึงแม้จะได้รับความสะดวกสบายในเบื้องต้นแต่สิ่งที่ตามมาโดยไม่รู้ตัวคือการดำรงชีวิตประจำวันที่ฟุ่มเฟือยทำให้คนในสังคมต้องประสบกับปัญหาการดำรงชีวิตตามมาฉะนั้นสิ่งที่จะสามารถแก้ปัญหาการดำรงชีวิตของคนในสังคมไทยเรื่องการใช้จ่ายฟุ่มเฟือยโดยเฉพาะรายจ่ายในครอบครัวให้มีรายจ่ายน้อยลงได้คือการดำรงชีวิตอย่างพอเพียงตามแนวพระราชดำริหลักเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมีความสำคัญต่อประเทศชาติและพสกนิกรชาวไทยทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัวระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลางโดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์พร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุสังคมสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดีอีกทั้งกระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดนโยบายขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาในทุกระดับเพื่อให้นักเรียนนักศึกษามีความรู้ความเข้าใจหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการในการจัดการเรียนการสอนตลอดจนประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันก่อให้เกิดความตระหนักและฝังรากลึกภายในตนเองและผู้อื่นอย่างยั่งยืน ในการนี้มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพรซึ่งเป็นหน่วยงานในสถาบันการศึกษาที่เห็นความสำคัญในการน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ให้สอดคล้องกับภารกิจที่มุ่งเน้นการสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้วยภูมิปัญญาชุมชนบูรณาการด้วยองค์ความรู้อันหลากหลายเพื่อให้เป็นแหล่งแห่งการเรียนรู้นั้นจึงได้มีการดำเนินงานภายใต้ปรัชญาดังกล่าวโดยเฉพาะศูยน์รวมภูมิปัญญาถ่ายทอดภูมิปัญญาและเทคโนโลยีชุมชนได้ดำเนินการสร้างกระบวนการเรียนรู้งานด้านการเกษตรเกี่ยวกับระบบสังคมเกษตรการผลิตพืชและเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยหมักชีวภาพบูรณาการกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้พัฒนางานผ่านโครงการต่างๆผลที่เกิดขึ้นเกิดองค์ความรู้การผลิตพืชที่สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและประการสำคัญเกิดพื้นที่การเรียนรู้การปฏิบัติจริงโดยการจัดทำแปลงเกษตรที่สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงถือเป็นแนวทางสำคัญในการดำเนินงานตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง ในโอกาสนี้ถือได้ว่าแหล่งเรียนรู้วิถีเกษตรพอเพียงของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพรเป็นเสมือนพื้นที่การเรียนรู้ของชุมชนและสังคมที่เปิดตัวและได้รับการยอมรับจากสถานศึกษาเกษตรกรและองค์กรที่เกี่ยวข้องที่ดีอย่างเป็นลำดับจุดเด่นสำคัญเป็นการจัดความรู้ของคนบูรณาการกับวิชาการการเกษตรผสมผสานกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและวิถีวัฒนาธรรมเกษตรดังนั้นเพื่อเป็นการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและสอดรับกับนโยบายการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาในทุกระดับทางผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานจึงได้จัดทำโครงการยุวเกษตรรักษ์วิถีพอเพียงขึ้นเพื่อกำหนดหลักสูตรและจัดกระบวนการเรียนรู้ในเรื่องการทำการเกษตรที่สอดกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้ยุวเกษตรในพื้นที่จังหวัดชุมพรมีความรู้และทักษะพื้นฐานในการดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเพื่อให้แหล่งเรียนรู้วิถีพอเพียงเป็นพื้นที่สำคัญในการจัดกระบวนการสืบสานวัฒนธรรมการเกษตรแก่ลูกหลานให้คงอยู่ต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1.เพื่อให้ยุวเกษตรมีความรู้และทักษะพื้นฐานในการดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2.เพื่อนำหลักการเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบูรณาการการเรียนการสอนในสถานศึกษา
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ยุวเกษตรมีความรู้และทักษะพื้นฐานในการดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
KPI 1 : -ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 2 : -ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ล้านบาท 0.05
KPI 3 : -การนำหลักการเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการการเรียนการสอนในสถานศึกษา
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 4 : -ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 5 : -ยุวเกษตรมีความรู้และทักษะพื้นฐานในการดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 6 : -ร้อยละของการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 7 : -จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 30
KPI 8 : -ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 90
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ยุวเกษตรมีความรู้และทักษะพื้นฐานในการดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1การจัดฝึกอบรม การเรียนรู้ทักษะพื้นฐานในการดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ดร.ณรงค์  โยธิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
-ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม จำนวน 30 คนๆละ 1มื้อๆ ละ 150 บาท 2 วัน เป็นเงิน 9,000 บาท
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม จำนวน 30คน ๆละ 2มื้อ ๆ ละ 35บาท 2 วัน เป็นเงิน 4,200บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 13,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
-ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย จำนวน 1 คน ๆละ 3 ชั่วโมง ๆละ 600 บาท 2 วัน เป็นเงิน 3,600 บาท
-ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ จำนวน 2 คน ๆละ 3 ชั่วโมง ๆละ 300 บาท 2 วัน เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
-ค่าวัสดุเกษตร เช่น ปุ๋ย ดิน ถุงดำ ฯลฯ เป็นเงิน 15,800 บาท
-ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ แฟ้ม ฯลฯ เป็นเงิน 6,800 บาท
-ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่นหมึกพิมพ์ ฯลฯ เป็นเงิน 7,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 29,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
1.เวลาว่างระหว่างผู้เข้าร่วมโครงการ/ ผู้จัดทำโครงการ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
1.จัดสรรเรื่องของเวลาให้ลงตัวกับทุกฝ่าย
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล