13260 : โครงการพัฒนาศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 31/10/2561 11:08:41
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการในลักษณะโครงการ (Project base) เพื่อบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2561  ถึง  30/09/2562
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  1000  คน
รายละเอียด  นักศึกษา บุคลากร มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ ฯ และประชาชนทั่วไปที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2562 2,800,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปวีณา  ฉัตรสูงเนิน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ตะวัน  ฉัตรสูงเนิน
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61MJU4.2.1 จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.1 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครอบคลุมห่วงโซ่คุณค่า เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ เมล็ดพันธุ์ ศัตรูพืช มาตรฐษน ประมง ปศุสัตว์ พืช ฟาร์ม ต้นแบบเกษตรยั่งยืน การแปรรูป ตลาด ฯลฯ ให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ 3. เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านเกษตร
เป้าประสงค์ 3.1 เป็นแหล่งการเรียนรู้ที่ให้บริการวิชาการ และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านเกษตร เป็นที่ยอมรับในสังคมระดับชาติ
ตัวชี้วัด 3.1.1 จำนวนกิจกรรม/โครงการที่ให้บริการวิชาการที่เกิดประโยชน์ต่อสังคม
กลยุทธ์ ส่งเสริมและสนับสนุน กิจกรรม/โครงการ ที่ให้บริการวิชาการที่เกิดประโยชน์ต่อสังคม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันเกษตรอินทรีย์ ได้รับความสนใจมากขึ้นเนื่องจากผู้บริโภคได้ตระหนักถึงความสำคัญของการบริโภคอาหารปลอดภัย ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานตามข้อกำหนดมาตรฐานและกฎระเบียบด้านอาหารปลอดภัยเพื่อปกป้องชีวิตและสุขภาพของ ผู้บริโภคโดยอ้างอิงจากมาตรการด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (SPS) เพื่อควบคุมสินค้าเกษตรและอาหาร ให้ปลอดภัยจากการปนเปื้อนของสารเคมี จุลินทรีย์ และศัตรูพืช ประกอบกับรัฐบาลปัจจุบันได้กำหนดยุทธศาสตร์ “ครัวไทยสู่ครัวโลก” ที่ประเทศไทยจะต้องเร่งพัฒนาวัตถุดิบที่เป็นสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐาน ตลอดทั้งระบบ โดยเฉพาะการให้ความสำคัญกับระบบการผลิตที่เป็นต้นน้ำโดยระบบเกษตรอินทรีย์เป็นมาตรฐานรองรับ แหล่งผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัย และมีคุณภาพตรงตามความต้องการของผู้บริโภค และตามนโยบายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ให้ความสำคัญด้านการเกษตร โดยมุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ คือ เป็นการเกษตรที่เคารพและเป็นมิตรกับธรรมชาติลด ละ เลิกการใช้สารเคมีมีการใช้เทคโนโลยีอย่างถูกต้องและรับผิดชอบในด้านกายภาพ ชุมชน และสิ่งแวดล้อม มุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว โดยการปรับปรุงโครงสร้างทางกายภาพ และรักษาสภาพแวดล้อมของมหาวิทยาลัยและชุมชนให้มีความสมดุลกับธรรมชาติรวมทั้งการพัฒนาศาสตร์และองค์ความรู้เพื่อความยั่งยืนของชุมชน ประเทศชาติและโลกในภาพรวมของการพัฒนามหาวิทยาลัย ทุกด้านมุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัย เชิงนิเวศ ซึ่งหมายถึง การพัฒนาที่สร้างความสมดุลในการอยู่ร่วมกันระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติอย่างสมบูรณ์แบบและ ยั่งยืน คำนึงถึงความสุขที่แท้จริงของมนุษย์ การพัฒนาจิตใจ และการสร้างจิตสำนึกที่ดีงามแก่นักศึกษาและบุคลากร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ -แพร่ เฉลิมพระเกียรติ จึงถือเป็นหน่วยงานที่มีความพร้อมทั้งทางด้านพื้นที่ บุคลากร ในการส่งเสริมด้านเกษตรอินทรีย์ ซึ่งจะช่วยส่งเสริมและถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่เกษตรกร ให้สามารถผลิตพืชอินทรีย์ได้ตามมาตรฐานที่ตลาดต้องการหรือมาตรฐานสากล โดยจากการดำเนินงานที่ผ่านมาของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ได้มีอยู่ระหว่างการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ จำนวน 10 ศูนย์ ซึ่งเป็นศูนย์การเรียนด้านการเกษตรอินทรีย์แบบครบวงจร (ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ) และได้มีการถ่ายทอดความรู้ให้แก่เกษตรกรที่สนใจด้านเกษตรอินทรีย์ไปแล้ว จำนวน 2,000 ราย แต่ด้วยข้อจำกัดของงบประมาณที่ขาดความต่อเนื่องจึงส่งผลให้เกิดการทำงานขาดความต่อเนื่อง ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ ยังขาดงบประมาณในการต่อยอดการพัฒนาศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ และส่งเสริมให้เกษตรกรได้มีความรู้ความเข้าใจ ตลอดจนส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรรายใหม่ให้มีความพร้อมที่จะเข้าสู้ระบบเกษตรอินทรีย์ในระยะปรับเปลี่ยน เกษตรกรสามารถผลิตสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพ และตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ได้เพิ่มขึ้น อีกทั้งส่งเสริมการผลิต พืชตามระบบเกษตรอินทรีย์ให้เกิดความยั่งยืนในระบบการผลิตและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วยพร้อมทั้งนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ต่อยอดในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และนวัตกรรมต่าง ต่อไปในอนาคต

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อพัฒนาพื้นที่ให้เป็นศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบ เพื่อรองกรับการศึกษาดูงาน การถ่ายทอดเทคโนโลยีและบริการวิชาการ การเรียนการสอน ด้านเกษตรอินทรีย์
2 เพื่อพัฒนาและสร้างเครือข่ายเกษตรกรด้านเกษตรอินทรีย์
3 เพื่อพัฒนาเป็นแหล่งสร้างรายได้จากผลผลิตด้านเกษตรอินทรีย์
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการพัฒนาศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
KPI 1 : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเรื่องเกษตรอินทีย์เพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 70
KPI 2 : การดำเนินกิจกรรมเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 100
KPI 3 : การเบิกจ่ายงบประมาณเป็นไปตามที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ล้านบาท 2.8
KPI 4 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 1000
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการพัฒนาศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 พัฒนาศูนย์เรียนรู้ผลิตพืชเศรษฐกิจแบบผสมผสาน เพื่อสร้างรายได้อย่างยั่งยืนตามแนวทางเกษตรอินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปวีณา  ฉัตรสูงเนิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรศิลป์  มาลัยทอง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตะวัน  ฉัตรสูงเนิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายสิทิไวกูล  ทิราวงศ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายธวัชชัย  ชัยธวัชวิถี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางธนันธรณ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายกิติพงษ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาดูแลแปลงเกษตรผสมผสาน จำนวน 2 งาน ๆ ละ 45,000 บาท เป็นเงิน 90,000 บาท
2. ค่าจ้างเหมาผู้ปฏิบัติงานเกษตร จำนวน 1 คน ๆ ละ 4 เดือน ๆ ละ 8,000 บาท เป็นเงิน 32,000บาท
3. ค่าจ้างเหมาตัดหญ้า จำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 15,000 บาท เป็นเงิน 30,000 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 152,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เป็นเงิน 160,000 บาท
2. ค่าวัสดุก่อสร้าง เป็นเงิน 20,600 บาท
3. ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น เป็นเงิน 24,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 204,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 356600.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 พัฒนาศูนย์เรียนรู้และส่งเสริมการใช้จุลินทรีย์เกษตรเพื่อพัฒนาการผลิตในระบบอินทรีย์ และลดการพึ่งพาเคมีภัณฑ์เกษตร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปวีณา  ฉัตรสูงเนิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตะวัน  ฉัตรสูงเนิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายธวัชชัย  ชัยธวัชวิถี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางธนันธรณ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายกิติพงษ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาตัดหญ้า จำนวน 1 งาน ๆ ละ 60,000 บาท เป็นเงิน 60,000 บาท
2. ค่าจ้างเหมาตรวจสอบและวิเคราะห์ตัวอย่างทางเคมีและจุลินทรีย์ จำนวน 1 งาน ๆ ละ 70,000 บาท เป็นเงิน 70,000 บาท
3. ค่าจ้างเหมาดูแลงานด้านการผลิตพืชและบริหารจัดการศูนย์เรียนรู้ (วุฒิ ป.ตรี) จำนวน 1 คน ๆ ละ 9 เดือน ๆ ละ 15,000 บาท เป็นเงิน 135,000 บาท
4. ค่าจ้างเหมาดูแลศูนย์เรียนรู้และส่งเสริมการใช้จุลินทรีย์ จำนวน 1 งาน ๆ ละ 45,000 บาท เป็นเงิน 45,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 310,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เป็นเงิน 65,000 บาท
2. ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น เป็นเงิน 15,000 บาท
3. ค่าวัสดุไฟฟ้าและวิทยุ เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 90,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 400000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 พัฒนาศูนย์เรียนรู้การผลิตปศุสัตว์อินทรีย์ (สัตว์ปีก)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรศิลป์  มาลัยทอง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายวงศ์วริศ  วงศ์นาค (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดุจดาว  คนยัง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ศุกรี  อยู่สุข (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์มรกต  วงศ์หน่อ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาดูแลศูนย์เรียนรู้ปศุสัตว์อินทรีย์ (สัตว์ปีก) จำนวน 1 งาน ๆ ละ 20,000 บาท เป็นเงิน 20,000 บาท
2. ค่าจ้างเหมาดูแลงานด้านปศุสัตว์และการบริหารจัดการฟาร์ม (วุฒิ ป.ตรี) จำนวน 1 คน ๆ ละ 9 เดือน ๆ ละ 15,000 บาท เป็นเงิน 135,000 บาท
3. ค่าจ้างเหมาตัดหญ้า จำนวน 1 งาน ๆ ละ 45,000 บาท เป็นเงิน 45,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 200,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เป็นเงิน 100,000 บาท
2. ค่าวัสดุก่อสร้าง เป็นเงิน 65,000 บาท
3. ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น เป็นเงิน 5,000 บาท
4. ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 180,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 380000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 4 พัฒนาศูนย์เรียนรู้การผลิตปศุสัตว์อินทรีย์ (สุกร)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรศิลป์  มาลัยทอง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายวงศ์วริศ  วงศ์นาค (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดุจดาว  คนยัง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ศุกรี  อยู่สุข (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์มรกต  วงศ์หน่อ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาดูแลศูนย์เรียนรู้ปศุสัตว์อินทรีย์(สุกร) จำนวน 1 งาน ๆ ละ 20,000 บาท เป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เป็นเงิน 100,000 บาท
2. ค่าวัสดุก่อสร้าง เป็นเงิน 65,000 บาท
3. ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น เป็นเงิน 5,000 บาท
4. ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 180,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 200000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 5 พัฒนาศูนย์เรียนรู้การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผลผลิตเกษตรอินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิศรา  วัฒนนภาเกษม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตะวัน  ฉัตรสูงเนิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายอนุกูล  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.พัตรเพ็ญ  เพ็ญจำรัส (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาป้ายไวนิลพร้อมขาตั้ง จำนวน 5 ป้าย ๆ ละ 2,000 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เป็นเงิน 110,000 บาท
2. ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ เป็นเงิน 30,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 140,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 150000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 6 ศูนย์เรียนรู้และส่งเสริมคุณภาพตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.อนุวัฒน์  จรัสรัตนไพบูลย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤษดา  พงษ์การัณยภาส (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายเปรมชัย  สุทธคุณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ศิริโสภา อินขะ  วรรณวงศ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์สุมัย  หมายหมั้น (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาตัดหญ้า จำนวน 1 งานๆ ละ 30,000 บาท เป็นเงิน 30,000 บาท
2. ค่าจ้างเหมารถไถเพื่อปรับที่ จำนวน 1 งาน ๆ ละ 38,000 บาท เป็นเงิน 38,000 บาท
3. ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิลพร้อมขาตั้ง จำนวน 10 ป้าย ๆ ละ 2,000 บาท เป็นเงิน 20,000 บาท
4. ค่าจ้างเหมาผู้ปฏิบัติงานเกษตร จำนวน 1 คน ๆ ละ 9 เดือน ๆ ละ 8,000 บาท เป็นเงิน 72,000 บาท
5. ค่าจ้างเหมาดูแลศูนย์เรียนรู้และส่งเสริมคุณภาพตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ จำนวน 1 งาน ๆ ละ 24,000 บาท เป็นเงิน 24,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 184,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เป็นเงิน 10,000 บาท
2. ค่าวัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น เป็นเงิน 10,000 บาท
3. ค่าวัสดุก่อสร้าง เป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 224000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 7 ศูนย์รวบรวมพรรณไม้และพืชผักท้องถิ่น จังหวัดแพร่และภาคเหนือตอนบน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.คนิติน  สมานมิตร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลพร  ปานง่อม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ถมรัตน์  ชัชวาลย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มณฑล  นอแสงศรี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาตัดหญ้าและดูแลแปลง จำนวน 1 งาน ๆ ละ 26,000 บาท เป็นเงิน 26,000 บาท
2. ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิล จำนวน 1 ป้าย ๆ ละ 2,000 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
3. ค่าจ้างเหมารถไถ จำนวน 1 งาน ๆ ละ 30,000 บาท เป็นเงิน 30,000 บาท
4. ค่าจ้างเหมาผู้ปฏิบัติงานเกษตร จำนวน 1 คน ๆ ละ 9 เดือน ๆ ละ 8,000 บาท เป็นเงิน 72,000บาท
5. ค่าจ้างเหมาดูแลศูนย์รวบรวมพรรณไม้และพืชผักท้องถิ่น จังหวัดแพร่และภาคเหนือตอนบน จำนวน 1 งาน ๆ ละ 24,000 บาท เป็นเงิน 24,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 154,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เป็นเงิน 40,000 บาท
2. ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น เป็นเงิน 10,000 บาท
3. ค่าวัสดุก่อสร้าง เป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 70,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 224000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 8 ศูนย์บริหารจัดการโครงการเกษตรอินทรีย์ต้นแบบ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปวีณา  ฉัตรสูงเนิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตะวัน  ฉัตรสูงเนิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ศุกรี  อยู่สุข (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายสิทิไวกูล  ทิราวงศ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายธวัชชัย  ชัยธวัชวิถี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางธนันธรณ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาเจ้าหน้าที่ประสานงานโครงการ (วุฒิ ป.ตรี) จำนวน 2 คน ๆ ละ 9 เดือน ๆ ละ 15,000 บาท เป็นเงิน 270,000 บาท
2. ค่าจ้างเหมาติดตามและประเมินผลโครงการ จำนวน 1 งาน ๆ ละ 50,000 บาท เป็นเงิน 50,000 บาท
3. ค่าจ้างเหมาจัดทำสื่อสิ่งพิมพ์ จำนวน 3,000 แผ่น ๆ ละ 20 บาท เป็นเงิน 60,000 บาท
4. ค่าจ้างเหมาจัดทำวีดิทัศน์ จำนวน 1 งาน ๆ ละ 65,000 บาท เป็นเงิน 65,000 บาท
5. ค่าจ้างเหมารถตู้พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1 คัน ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 2,500 บาท จำนวน 5 ครั้ง เป็นเงิน 25,000 บาท
6. ค่าที่พัก (ห้องคู่) จำนวน 2 ห้อง ๆ ละ 2 คืน ๆ ละ 1,200 บาท จำนวน 3 ครั้ง เป็นเงิน 14,400 บาท
7. ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน 3 คน ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 240 บาท จำนวน 3 ครั้ง เป็นเงิน 4,320 บาท
8. ค่าจ้างเหมาตัดหญ้า จำนวน 3 งาน ๆ ละ 30,000 บาท เป็นเงิน 90,000 บาท
9. ค่าจ้างเหมาจัดทำบอร์ดนิทรรศการ จำนวน 1 บอร์ด ๆ ละ 40,000 บาท เป็นเงิน 40,000 บาท
10. ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายโครงการศูนย์เรียนรู้พร้อมติดตั้ง จำนวน 8 ป้าย ๆ ละ 5,000 บาท เป็นเงิน 40,000 บาท
11. ค่าจ้างเหมาจัดทำหนังสือคู่มือศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบ จำนวน 300 เล่ม ๆ ละ 400 บาท เป็นเงิน 120,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 778,720.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าถ่ายเอกสาร เป็นเงิน 6,680 บาท
2. ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เป็นเงิน 20,000 บาท
3. ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น เป็นเงิน 10,000 บาท
4. ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 30,000 บาท
5. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 86,680.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 865400.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
โครงการยังขาดการประชาสัมพันธ์ไปยังกลุ่มเกษตรกร ทำให้เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่ทราบว่ามหาวิทยาลัยมีศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบ การเดินทางไปยังแต่ละศูนย์เรียนรู้ไม่มีความสะดวกเนื่องจากเส้นทางเป็นทางลูกรังและยังขาดป้ายบอกทางและการจัดการเรื่องเชื่อมต่อเส้นทางแต่ละศูนย์ทำให้เกษตรกรที่เข้ามาเยี่ยมชมไม่ทราบตำแหน่งครบทุกศูนย์
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ควรมีการประชาสัมพันธ์ไปยังกลุ่มเกษตรกรโดยตรงผ่านทางหน่วยงานในพื้นที่แต่ละท้องถิ่นที่รับผิดชอบในการช่วยประชาสัมพันธ์ และผู้ดำเนินโครงการควรมีการนำองค์ความรู้ไปสู่ชมชนโดยการลงพื้นที่ให้ความรู้คำแนะนำกลุ่มเกษตรกรอย่างทั่วถึง อีกทั้งมีการจัดกิจกรรมด้านเกษตรอินทรีย์เป็นประจำ และประชาสัมพันธ์กิจกรรมผ่านสื่อสังคมออนไลน์ให้มากขึ้น ส่วนในเรื่องของการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ให้มีความพร้อม ความสะดวก ในการเข้าเยี่ยมชมและเรียนรู้ของเกษตรกรได้อย่างเต็มที่ ถึงแม้จะมีความพร้อมของพื้นที่ บุคลากร แต่ยังคงมีความจำเป็นที่จะต้องได้รับการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยในทุก ๆ ด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการจัดสรรงบประมาณ แต่ด้วยข้อจำกัดของงบประมาณที่ขาดความต่อเนื่องในทุก ๆ ปี จึงทำให้ไม่สามารถพัฒนาพื้นที่ได้อย่างเต็มที่และมีความต่อเนื่อง
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล