13258 : โครงการ Landscape Workshop in “Therapeutic Environment, Green Tourism and Brand Building for Sustainability: With Research Focus on Conceptual Framework–Graphic Thinking–Writing Structure–Discourse Analysis “ (62-3.2.6)-85ปี
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
น.ส.รุ้งทอง เขื่อนขัน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 30/10/2561 17:28:26
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์ (Go Eco U.)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
10/11/2561  ถึง  30/09/2562
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  60  คน
รายละเอียด  คณาจารย์ นักศึกษา กลุ่มสถาปนิกรุ่นใหม่ นักผังเมืองและนักออกแบบสิ่งแวดล้อม เครือข่ายสมาคมศิษย์เก่าคณะสถาปัตยกรรมภาคเหนือ และนักพัฒนาการท่องเที่ยว
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน (เงินกันเหลื่อมปี 2561)
เงินรับฝากงานวันเกษตรแม่โจ้
แผนงาน : งานบริหารทั่วไป (พื้นฐานพัฒนา/สังคม/สนับสนุน)
งานเกษตร-คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
กองทุนบริการวิชาการ
งบเงินอุดหนุน
เงินอุดหนุนทั่วไป
เงินอุดหนุนงานวันเกษตรแม่โจ้

2562 70,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. อรทัย  มิ่งธิพล
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ด้านบริการวิชาการ
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.1 ระบบการบริหารจัดการงานบริการ วิชาการที่ดี มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 61MJU4.1.1 ร้อยละของงบประมาณบริการวิชาการ (ทั้งงบแผ่นดินและรายได้) ที่เพิ่มขึ้น
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.1.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ 3(62-64)-FAED มุ่งเน้นผลงานการบริการวิชาการ เพื่อพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
เป้าประสงค์ 3.1(62-64)-FAED ผลงานบริการวิชาการเป็นที่ยอมรับในระดับชาติ และนานาชาติ
ตัวชี้วัด 3FAED62-1 จำนวนโครงการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ FAED-3.1.1(62-64) ส่งเสริมให้มีความร่วมมือทางวิชาการเชิงรุก กับหน่วยงานภายในและภายนอก ทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.3(62-64) ส่งเสริมการถ่ายทอดวิชาการที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของท้องถิ่นทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การฝึกอบรม สัมมนา หลักสูตรระยะสั้นทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.6(62-64) ส่งเสริม และสนับสนุนการบูรณาการงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
ตัวชี้วัด 3FAED62-2 ร้อยละความพึงพอใจของชุมชนต่อการให้บริการวิชาการของคณะ
กลยุทธ์ FAED-3.1.6(62-64) ส่งเสริม และสนับสนุนการบูรณาการงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
ตัวชี้วัด 3FAED62-3 ร้อยละของผลงานบริการวิชาการสู่การนำไปใช้ประโยชน์ต่อโครงการบริการวิชาการทั้งหมด
กลยุทธ์ FAED-3.1.1(62-64) ส่งเสริมให้มีความร่วมมือทางวิชาการเชิงรุก กับหน่วยงานภายในและภายนอก ทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.3(62-64) ส่งเสริมการถ่ายทอดวิชาการที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของท้องถิ่นทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การฝึกอบรม สัมมนา หลักสูตรระยะสั้นทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.6(62-64) ส่งเสริม และสนับสนุนการบูรณาการงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ด้วยมหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้กำหนดทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัย (Roadmap) ระยะ 15 ปี(พ.ศ. 2555 - 2569) ภายใต้กรอบทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัย Roadmap MJU 2026 มุ่งสู่การเป็น Organic University, Green University, Eco University ซึ่งเป็นเส้นทางยุทธศาสตร์การพัฒนาแม่โจ้ในการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต ทั้งนี้เพื่อให้คณะ สำนัก และหน่วยงานภายในสามารถใช้เป็นกรอบทิศทางในการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ และกิจกรรมโครงการให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาของมหาวิทยาลัย ทั้งนี้คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อมได้ดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยโดยมีแผนยุทธศาสตร์เชิงรุก เพื่อมุ่งสู่มุ่งสู่ “Green Knowledge Park” โดยมีเป้าหมายเพื่อการผลิตบัณฑิตออกไปรับใช้สังคมที่มีคุณภาพ คุณธรรม และจริยธรรม และเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศการพัฒนานักศึกษาระดับอุดมศึกษาตามความต้องการผลิตบัณฑิตในสาขาวิชาด้านสถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม และสาขาทางด้านการออกแบบสิ่งแวดล้อมให้มีมาตรฐานทางด้านวิชาการและวิชาชีพมาตรฐานจากสภาสถาปนิกแห่งประเทศไทย รวมทั้งพร้อมสำหรับการปรับเปลี่ยนที่ก้าวหน้ามั่นคงและยั่งยืน พร้อมกันนี้ การสร้างเครือข่ายความร่วมมือทั้งทางวิชาชีพและวิชาการ “ในระดับชาติและนานาชาติ” เป็นอีกประเด็นที่มีความสำคัญในการพัฒนาทักษะของนักศึกษาและคณาจารย์ภายในคณะ และช่วยในการปฏิบัติการออกแบบ ตลอดจนการแลกเปลี่ยนมุมมองร่วมกันของกลุ่มเครือข่าย เพื่อนำไปสู่ความร่วมมือในด้านต่างๆ ประกอบกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 นั้น การเรียนร่วมกันรู้จึงเป็นส่วนสำคัญที่จะเป็นจุดเริ่มต้นในกระบวนการที่ก่อให้เกิดความร่วมมือ ดังนั้น การกำหนด “ทิศทางแผนงานกิจกรรมความร่วมมือทางวิชาการในระดับชาติ และนานาชาติ” ที่เป็นรูปธรรม สามารถเสริมสร้างศักยภาพด้านการเรียนการสอน การวิจัยแบบบูรณาการสามเส้า ดังนั้นกิจกรรมความร่วมมือทางวิชาการในระดับชาติ และนานาชาติ นั้นนำผลจากกิจกรรมมาใช้ประโยชน์เพื่อดำเนินการทางการเรียน การสอน การวิจัยที่มีความชัดเจนมากขึ้น โครงการเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการในระดับชาติ และนานาชาติ ที่เป็นรูปธรรม แผนงานบุคลากรรับผิดชอบและระยะเวลาที่ชัดเจนโดยคณาจารย์ทุกท่านมีส่วนร่วม เพื่อก่อให้เกิดความหลากหลายของสหวิชาการที่เอื้อประโยชน์ต่อการเรียน การสอน การวิจัยและสามารถเพิ่มศักยภาพของคณาจารย์ด้านการบูรณาการการเรียน การสอน มาสู่การสร้างเครือข่ายทางวิชาการแก่สังคม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นหน่วยงานด้านการศึกษาที่มีภารกิจหลักด้านการเรียนการสอน และการวิจัย โดยมีแนวทางการดำเนินงานในเชิงบูรณาการด้านวิชาการให้เห็นผลอย่างเป็นรูปธรรม ในการดำเนินงานนั้น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ ได้เห็นความจำเป็นในการดำเนินงานทุกภาคส่วน ด้วยการสร้างเครือข่ายการทำงานวิชาการร่วมกันทั้งหน่วยงานภาครัฐ เอกชน ทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ภายใต้นโยบายและยุทธศาสตร์และแผนงานวิชาการของคณะและมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ด้วยเหตุนี้ การจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ โดยนำผู้เชี่ยวชาญด้านวิชาชีพและวิชาการมาร่วมกันถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ และแนะนำนวัตกรรมเพื่อให้ผู้ประกอบวิชาชีพรุ่นใหม่ และนักศึกษาได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู้ เข้าใจและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในมิติด้านสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาการท่องเที่ยว ปรับตัวและเข้าใจบทบาท รวมทั้งประยุกต์ความรู้เพื่อพัฒนางานในสายวิชาชีพของตนเอง ให้มีความเข้มแข็ง มั่นคงยิ่งขึ้น

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อแสดงบทบาทการเป็นผู้นำด้านการออกแบบสถาปัตยกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อม ภายใต้การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
เพื่อให้เครือข่ายผู้ประกอบวิชาชีพ และนักศึกษาจากสถาบันการศึกษาที่มีการเรียนการสอนด้านสถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรมและภูมิทัศน์ เข้าร่วมเสวนาเพื่อพัฒนาวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
เพื่อให้บุคลากร องค์กรภาคประชาชน หน่วยงานราชการ ภาคธุรกิจ ได้มีโอกาสพัฒนา แลกเปลี่ยนและประยุกต์ความรู้ เพื่อพัฒนาตนเองและการทำงานในสายงานด้านสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลการจัด Landscape Workshop in “Therapeutic Environment, Green Tourism and Brand Building for Sustainability: With Research Focus on Conceptual Framework–Graphic Thinking–Writing Structure–Discourse Analysis"
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 60
KPI 2 : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และประสบการณ์เพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลการจัด Landscape Workshop in “Therapeutic Environment, Green Tourism and Brand Building for Sustainability: With Research Focus on Conceptual Framework–Graphic Thinking–Writing Structure–Discourse Analysis"
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรม Landscape Workshop in “Therapeutic Environment, Green Tourism and Brand Building for Sustainability: With Research Focus on Conceptual Framework–Graphic Thinking–Writing Structure–Discourse Analysis"

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/11/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.อรทัย  มิ่งธิพล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าพาหนะ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 18,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พัก (จำนวน 1,200 บาท x 3 คน x 2 คืน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (จำนวน 30 บาท x 60 คน x 4 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (จำนวน 80 บาท x 60 คน x 2 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าวัสดุโฆษณาและเผยแพร่
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าไปรษณีย์ภัณฑ์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (จำนวน 1,200 บาท x 6 ชั่วโมง x 3 คน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 21,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 70000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
ใบโอนงบงานวันเกษตร85ปี-62(70,000)
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล