13257 : โครงการเสวนาวิชาการ “การเปลี่ยนแปลงสภาวะอากาศที่มีผลต่อการออกแบบสถาปัตยกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อม” (62-3.2.5)-85ปี
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
น.ส.รุ้งทอง เขื่อนขัน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 26/9/2562 16:26:40
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์ (Go Eco U.)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
10/11/2561  ถึง  30/09/2562
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  80  คน
รายละเอียด  คณาจารย์ นักศึกษา กลุ่มสถาปนิกล้นนา สถาปนิกรุ่นใหม่ สถาปนิกผังเมืองล้นนา นักผังเมืองและนักออกแบบสิ่งแวดล้อม เครือข่ายสมาคมศิษย์เก่าคณะสถาปัตยกรรมภาคเหนือ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน (เงินกันเหลื่อมปี 2561)
แผนงาน : งานบริหารทั่วไป (พื้นฐานพัฒนา/วิทย์/สนับสนุน)
งานเกษตร-คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
กองทุนทั่วไป
งบเงินอุดหนุน
เงินอุดหนุนทั่วไป
เงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายงานวันเกษตรแม่โจ้ 85 ปี
2561 80,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. อรทัย  มิ่งธิพล
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ด้านบริการวิชาการ
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.1 ระบบการบริหารจัดการงานบริการ วิชาการที่ดี มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 61MJU4.1.1 ร้อยละของงบประมาณบริการวิชาการ (ทั้งงบแผ่นดินและรายได้) ที่เพิ่มขึ้น
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.1.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ 3(62-64)-FAED มุ่งเน้นผลงานการบริการวิชาการ เพื่อพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
เป้าประสงค์ 3.1(62-64)-FAED ผลงานบริการวิชาการเป็นที่ยอมรับในระดับชาติ และนานาชาติ
ตัวชี้วัด 3FAED62-1 จำนวนโครงการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ FAED-3.1.1(62-64) ส่งเสริมให้มีความร่วมมือทางวิชาการเชิงรุก กับหน่วยงานภายในและภายนอก ทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.3(62-64) ส่งเสริมการถ่ายทอดวิชาการที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของท้องถิ่นทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การฝึกอบรม สัมมนา หลักสูตรระยะสั้นทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
ตัวชี้วัด 3FAED62-2 ร้อยละความพึงพอใจของชุมชนต่อการให้บริการวิชาการของคณะ
กลยุทธ์ FAED-3.1.1(62-64) ส่งเสริมให้มีความร่วมมือทางวิชาการเชิงรุก กับหน่วยงานภายในและภายนอก ทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.3(62-64) ส่งเสริมการถ่ายทอดวิชาการที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของท้องถิ่นทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การฝึกอบรม สัมมนา หลักสูตรระยะสั้นทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.6(62-64) ส่งเสริม และสนับสนุนการบูรณาการงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
ตัวชี้วัด 3FAED62-3 ร้อยละของผลงานบริการวิชาการสู่การนำไปใช้ประโยชน์ต่อโครงการบริการวิชาการทั้งหมด
กลยุทธ์ FAED-3.1.1(62-64) ส่งเสริมให้มีความร่วมมือทางวิชาการเชิงรุก กับหน่วยงานภายในและภายนอก ทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.3(62-64) ส่งเสริมการถ่ายทอดวิชาการที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของท้องถิ่นทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การฝึกอบรม สัมมนา หลักสูตรระยะสั้นทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.6(62-64) ส่งเสริม และสนับสนุนการบูรณาการงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

นักประชากรศาสตร์ได้คาดการณ์ว่าอีกประมาณ 20 ข้างหน้า (พ.ศ. 2032) โลกจะมีประชากรอย่างต่ำ 7,600 ล้านคน จึงกล่าวได้ว่าจำนวนประชากรโลกยังเพิ่มในอัตราที่สูงมาก และจะส่งผลกระทบต่อปัญหาสังคมมากมาย ยิ่งกว่านั้นข้อมูลด้านประชากรส่วนใหญ่ระบุตรงกันว่า ประชากรของโลกที่เพิ่มขึ้นในอัตราสูงมากที่สุดคือประเทศกำลังพัฒนาและประเทศด้อยพัฒนา ที่อาจมีอัตราเพิ่มจำนวนประชากรถึงร้อยละ 3 ในขณะที่อัตราเฉลี่ยของโลกอยู่ที่ 1.7 ซึ่งจะส่งผลกระทบในเรื่องการขาดแคลนอาหาร แล้วยังมีผลต่อการอพยพเข้าอยู่ในเขตเมืองที่อาจส่งผลต่อการพัฒนาเมือง ไม่ว่าจะเป็นปัญหาของเมืองใหญ่หรือเมืองขนาดกลางที่เติบโตแบบไร้ทิศทาง เกิดการขาดแคลนระบบโครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสม เกิดการรุกล้ำพื้นที่เกษตรกรรมและเกิดการพัฒนาแบบขาดความสมดุล นอกจากนี้ยังมีแนวโน้มเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อม จากการขยายตัวของอุตสาหกรรมและการเพิ่มขึ้นของประชากร จะยังส่งผลกระทบสำคัญต่อสิ่งแวดล้อมทั้งบนบก ในน้ำ และในอากาศ การตัดไม้ทำลายป่ายังจะคงมีต่อไป แม้ว่ามลพิษทางอากาศอันเกิดจากสารอุตสาหกรรม จะได้รับการตระหนักมากขึ้น โรงงานอุตสาหกรรมจำนวนมากให้ความสำคัญกับเรื่องการป้องกันมลพิษต่างๆ โดยการงดใช้สารจำพวก Chlorofluorocarbon-CFC กับเครื่องใช้ในครัวเรือน เช่น ตู้เย็นเพื่อป้องกันการทำลายบรรยากาศที่หุ้มก่อโลก รวมทั้งการลดปริมาณแก๊สต่าง ๆ ที่ก่อให้เกิดปรากฏการณ์ที่เรียกว่า "ภาวะเรือนกระจก" (Greenhouse Effect) อันส่งผลให้อุณหภูมิของโลกสูงขึ้น และทำให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้นอีกด้วย ไม่ใช่เพียงความต้องการใช้พลังงานที่จะเพิ่มสูงขึ้นเท่านั้น ความต้องการการใช้น้ำและรวมถึงปริมาณขยะที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเช่นกัน แต่ในทางกลับกันทรัพยากรธรรมชาติจะถูกใช้และลดลงอย่างรวดเร็ว และจากการศึกษาของ ดร. อุชุก ด้วงบุตรศรี (2560) พบว่าการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทยยังส่งผลต่อแนวโน้มการใช้ที่ดินของประเทศที่พบว่าในระยะ 20 ปีข้างหน้า การใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรจะลดลงประมาณ 12% ภายในปี 2030 โดยที่ดินจะถูกนำไปใช้เป็นที่อยู่อาศัยและรองรับการขยายตัวของเศรษฐกิจ ชุมชนเมือง อุตสาหกรรม และการท่องเที่ยว รวมทั้งปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) จากปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันและแนวโน้มสถานการณ์โลกในอนาคต จะเห็นได้ว่าประเทศยังต้องการผู้ประกอบวิชาชีพมีความตระหนักเข้าใจในปัญหาตลอดจนสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้น และมีความรู้ ความสามารถด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและมีทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ที่สามารถบูรณาการศาสตร์แบบองค์รวมทั้งด้านสิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม และนวัตกรรม ที่สามารถจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่อย่างจำกัดให้มีประสิทธิภาพและถูกทำลายน้อยที่สุด ไปพร้อมกับการขับเคลื่อนทางด้านเศรษฐกิจของประเทศอย่างยั่งยืน รวมทั้งสามารถป้องกันและแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมและการใช้พลังงานในอนาคตได้ทั้งในภาพเมือง สิ่งแวดล้อมและองค์ประกอบของเมืองอันได้แก่ระบบสาธารณูปโภค อาคาร และพื้นที่สีเขียวของเมือง เพื่อให้สอดคล้องกับการปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางเศรษฐกิจของประเทศเพื่อเข้าสู่ยุคประเทศไทย 4.0 ที่มีการใช้เทคโนโลยีและความคิดสร้างสรรค์มากขึ้น ด้วยเหตุนี้ การเสวนาวิชาการ โดยนำผู้เชี่ยวชาญด้านวิชาชีพและวิชาการมาร่วมกันถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ และแนะนำนวัตกรรมเพื่อให้ผู้ประกอบวิชาชีพรุ่นใหม่ ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู้ เข้าใจและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงสภาวะอากาศ ปรับตัวและเข้าใจบทบาท รวมทั้งประยุกต์ความรู้เพื่อพัฒนางานในสายวิชาชีพของตนเอง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อแสดงบทบาทการเป็นผู้นำด้านการออกแบบสถาปัตยกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อม ภายใต้การเปลี่ยนแปลงสภาวะอากาศ ของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้
เพื่อให้เครือข่ายผู้ประกอบวิชาชีพ และนักศึกษาจากสถาบันการศึกษาที่มีการเรียนการสอนด้านสถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรมและภูมิทัศน์ เข้าร่วมเสวนาเพื่อพัฒนาวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง ตามเงื่อนไขของสภาวิชาชีพ
เพื่อให้บุคลากร องค์กรภาคประชาชน หน่วยงานราชการ ภาคธุรกิจ ได้มีโอกาสพัฒนา แลกเปลี่ยนและประยุกต์ความรู้ เพื่อพัฒนาตนเองและการทำงานในสายงานด้านสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลการจัดเสวนาวิชาการ “การเปลี่ยนแปลงสภาวะอากาศที่มีผลต่อการออกแบบสถาปัตยกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อม”
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 80
KPI 2 : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และประสบการณ์เพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลการจัดเสวนาวิชาการ “การเปลี่ยนแปลงสภาวะอากาศที่มีผลต่อการออกแบบสถาปัตยกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อม”
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมเสวนาวิชาการ “การเปลี่ยนแปลงสภาวะอากาศที่มีผลต่อการออกแบบสถาปัตยกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อม”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/11/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.อรทัย  มิ่งธิพล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าพาหนะ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พัก (จำนวน 1,200 บาท x 2 คน x 1 คืน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (จำนวน 30 บาท x 120 คน x 2 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (จำนวน 100 บาท x 120 คน x 1 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าวัสดุโฆษณาและเผยแพร่
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าไปรษณีย์ภัณฑ์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (จำนวน 1,200 บาท x 3 ชั่วโมง x 2 คน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ (จำนวน 100 บาท x 10 คน x 4 วัน)=4,000+(จำนวน 200 บาท x 10 คน x 1 วัน)=2,000
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 23,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 80000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล