12961 : โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีกระบวนการผลิตผักและปัจจัยการผลิตในแนวทางเกษตรอินทรีย์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
น.ส.สุภาภรณ์ สิริกรม (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 20/11/2561 14:00:11
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการในลักษณะโครงการ (Project base) เพื่อบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
03/12/2561  ถึง  30/09/2562
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  1000  คน
รายละเอียด  1. กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตผักในระบบเกษตรอินทรีย์ (Organic) ในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดอื่นๆ 2. กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตผักในระบบปลอดภัย (GAP) ในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดอื่นๆ 3. กลุ่มผู้ใช้ผลิตผล ได้แก่ ผู้ประกอบการร้านอาหาร และประชาชนที่สนใจทั่วไป 4. คณะต่างๆภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เช่น คณะผลิตกรรมการเกษตร คณะประมง คณะสัตวศาสตร์ 5. สาขาต่างๆที่มีการบูรณาการการเรียนการสอนร่วมกับสาขาพืชผัก เช่น สาขาส่งเสริมการเกษตร สาขาประมง 6. นักเรียน นักศึกษาจากโรงเรียนและสถาบันการเกษตรจากทั่วประเทศ ฯลฯ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณแผ่นดิน ปี 2562 แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานรอง แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาเพื่อความยั่งยืน โครงการ:โครงการพัฒนาการศึกษาเพื่อความยั่งยืน กิจกรรมหลัก ดำเนินการพัฒนาการศึกษาเพื่อความยั่งยืน แผนงาน บริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน รายการเงินอุดหนุน โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีกระบวนการผลิตผักและปัจจัยการผลิตในแนวทางเกษตรอินทรีย์ 2562 625,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. แสงเดือน  อินชนบท
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61MJU4.2.1 จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.3 พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมระยะสั้นให้ทันสมัย เพื่อให้เอื้อสำหรับกลุ่มเป้าหมายที่หลากหลาย เช่นผู้สูงอายุ หรือคนรุ่นใหม่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ62 ผก. 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 62 ผก. 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน ตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 62 ผก. 4.3 จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 62 ผก. 4.4 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครอบคลุมห่วงโซ่คุณค่า เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ เมล็ดพันธ์ุ ศัตรูพืช มาตรฐาน ประมง ปศุสัตว์ พืช ฟาร์มต้นแบบเกษตรยั่งยืน การแปรรูปตลาด ฯลฯ ให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันคนรุ่นใหม่เริ่มหันมาใส่ใจอาหารสุขภาพกันมากขึ้น เนื่องจากรับทราบถึงกระแสการเจ็บป่วยด้วยโรคภัยไข้เจ็บต่างๆจากการบริโภคอาหารต่างๆ กันได้มากขึ้นและรวดเร็วทั้งทางจากสื่อโทรทัศน์และสื่อโซเชียล จึงทำให้มีรับประทานอาหารสุขภาพกันมากขึ้นโดยเฉพาะผักสด ดังนั้นปัจจุบันจึงพบว่ามีจำนวนคนหนุ่มสาวรุ่นใหม่หันมาทำอาชีพเกษตรกันเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะการปลูกผักแบบอินทรีย์โดยบางคนออกมาทำอาชีพเกษตรเต็มตัว บางคนใช้เวลาจากงานประจำมาปลูกผักเป็นอาชีพเสริม แต่ปัญหาที่ตามมาสำหรับผู้ปลูกมือใหม่เหล่านี้คือยังไม่มีประสบการณ์ด้านการผลิตผักและการทำปัจจัยการผลิตสำหรับระบบการผลิตผักแบบเกษตรอินทรีย์ หรือบางครั้งมีการเรียนรู้จากสื่อโซเชียลต่างๆ ซึ่งบางสื่อให้ข้อมูลหรือนำเสนอข้อมูลที่ไม่ถูกต้องชัดเจน ซึ่งทำให้ผู้บริโภคสื่อได้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง ดังนั้นโครงการนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีกระบวนการผลิตผักและปัจจัยการผลิตในแนวทางเกษตรอินทรีย์ที่ถูกต้องให้กับผู้ที่สนใจในการผลิตผักสดในแนวทางแบบอินทรีย์ ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้ผู้ผลิตและผู้บริโภคได้มีสุขภาพที่ดี ได้รับประทานผักสดที่ปลอดภัย ยังช่วยลดต้นทุนการผลิต เพิ่มรายได้ให้ครอบครัว และมีส่วนร่วมในการรักษาสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ของชุมชนให้น่าอยู่อย่างยั่งยืนตลอดไปซึ่งสอดคล้องกับแนวนโยบายของมหาวิทยาลัยแม่โจ้และของรัฐบาลในปัจจุบัน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีกระบวนการผลิตผักสดในแนวทางเกษตรอินทรีย์ที่ถูกต้อง
เพื่อเป็นแหล่งผลิตตัวอย่างด้านอาหารปลอดภัยด้วยระบบเกษตรอินทรีย์
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีกระบวนการผลิตผักและปัจจัยการผลิตในแนวทางเกษตรอินทรีย์
KPI 1 : จำนวนผู้รับบริการฝึกอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 2 : ค่าใช้จ่ายตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
223750 147500 138000 115750 บาท 625000
KPI 3 : จำนวนชนิดปัจจัยการผลิตที่ทำการผลิต
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 ชนิด 3
KPI 4 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 6 : จำนวนผู้รับบริการศึกษาดูงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
250 250 250 250 คน 1000
KPI 7 : จำนวนชนิดผักที่ทำการผลิต
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ชนิด 10
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีกระบวนการผลิตผักและปัจจัยการผลิตในแนวทางเกษตรอินทรีย์
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมย่อยที่ 1 เทคนิคการใช้เทคโนโลยีเพื่อผลิตผักคุณภาพและปัจจัยการผลิตในแนวทางเกษตรอินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 04/12/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.แสงเดือน  อินชนบท (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาผสมดินปลูก ใส่ดินปลูกลงถาดเพาะและหยอดเมล็ดลงถาดเพาะ จำนวน 1,000 ถาด ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 50000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
20,000.00 บาท 10,000.00 บาท 10,000.00 บาท 10,000.00 บาท 50,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาเตรียมดินปลูก และปรับระดับแปลงปลูกให้ได้ขนาด (1.2 เมตร x 6.0 เมตร) จำนวน 360 แปลง ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 54,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
54,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 54,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาดูแลรักษา (เช่น รดน้ำ ใส่ปุ๋ย พ่นสารชีวภัณฑ์) จำนวน 360 แปลง ๆ ละ 200 เป็นเงิน 72,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
18,000.00 บาท 18,000.00 บาท 18,000.00 บาท 18,000.00 บาท 72,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการช่วยปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชี
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมการผลิตผักอินทรีย์) จำนวน 50 คน ๆ ละ 35 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 3,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมการผลิตผักอินทรีย์ จำนวน 50 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 120 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาดูแลรักษารดน้ำใส่ปุ๋ยกล้าผัก จำนวน 1,000 ถาด ๆ ละ 20 บาท เป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
5,000.00 บาท 5,000.00 บาท 5,000.00 บาท 5,000.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาย้ายกล้าปลูกลงแปลงจำนวน 1,000 ถาด ๆ ละ 20 บาท เป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
5,000.00 บาท 5,000.00 บาท 5,000.00 บาท 5,000.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาคุมพลาสติกและเจาะหลุมแปลงปลูกให้ได้ขนาด (1.2 เมตร x 6.0 เมตร) จำนวน 360 แปลง ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 18,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
18,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 18,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
3,750.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,750.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุการเกษตร เช่น ต้นกล้าผัก เมล็ดพันธุ์ผัก มูลวัว ไม้ไผ่ ปุ๋ยอินทรีย์ ดินดำ แกลบดิบ เปลือกถั่ว ตาข่ายพรางแสง พลาสติกมุงหลังคา หัวน้ำหยด ถาดเพาะ ถุงปลูกพลาสติกดำ ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
100,000.00 บาท 100,000.00 บาท 100,000.00 บาท 62,750.00 บาท 362,750.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 625000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
งบประมาณที่ได้รับจัดสรรมีจำนวนจำกัด
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
วางแผนการใช้เงินตามที่ได้รับจัดสรร
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล