11132 : โครงการติดตามและประเมินผลความสำเร็จของแผนบริการวิชาการ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2560
น.ส.ปวริศา ศรีสง่า (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 31/8/2560 14:22:05
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
31/08/2560  ถึง  30/09/2560
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  5  คน
รายละเอียด  ผู้รับผิดชอบกิจกรรมบริการวิชาการและผู้เข้าร่วมโครงการบริการวิชาการ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2560 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชนันท์ภัสร์  ราษฎร์นิยม
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2560 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 60 MJU 5 การบริการวิชาการเพื่อพัฒนาชุมชน สังคม
เป้าประสงค์ 60MJU5.2 มหาวิทยาลัยเป็นที่พึ่งของประชาชนและมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน
ตัวชี้วัด 60MJU5.06 ความพึงพอใจของชุมชนต่อการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 60MJU5.7 สร้างเครือข่ายการให้บริการวิชาการกับหน่วยงานภายนอกทั้งระดับชุมชน ระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับโลก
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2560] ประเด็นยุทธศาสตร์ การบริการวิชาการเพื่อพัฒนาชุมชนสังคม
เป้าประสงค์ คณะมีระบบการบริหารจัดการงานบริการวิชาการที่ดีมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 1 ความพึงพอใจของหัวหน้าโครงการต่อระบบการบริหารจัดการการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ พัฒนาต้นแบบงานบริการวิชาการที่เน้นการถ่ายทอดเทคโนโลยีเกิดการเรียนรู้และสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การควบคุมแผนพัฒนาการศึกษาเป็นการตรวจสอบถึงความก้าวหน้าของงานวิจัยและบริการวิชาการคณะฯ ในการดำเนินกลยุทธ์และโครงการ การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดตามแผนงานที่วางไว้ ตลอดจนเป็นการกระตุ้นและจูงใจบุคลากรให้ปฏิบัติงานตามกลยุทธ์เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่วางไว้ การควบคุมแผนพัฒนาการศึกษานั้นเป็นการเปรียบเทียบระหว่างผลของการปฏิบัติงานกับแผนที่วางไว้ทำให้คณะฯ สามารถรู้ถึงสถานการณ์ขององค์กรว่ายังคงสามารถรักษาการปฏิบัติงานได้ตามที่วางแผนไว้หรือมีความคลาดเคลื่อนไปจากแผนมากน้อยเพียงไร ควรดำเนินกิจกรรมใดเพิ่มขึ้นบ้างเพื่อให้สามารถบรรลุเป้าหมายขององค์กรที่กำหนดไว้ นอกจากนี้ยังทำให้องค์กรตระหนักถึงสิ่งที่ควรมุ่งเน้นและสิ่งที่เฝ้าระวังอีกด้วย หลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับการติดตามประเมินผลของคณะฯ การประเมินผลแผนพัฒนาการศึกษาถือเป็นขั้นตอนที่สำคัญประการหนึ่งในกระบวนการประกันคุณภาพการศึกษาบริหารโครงการ ซึ่งหลังจากได้ผ่านกระบวนการวางแผนและการปฏิบัติตามแผน การติดตามและประเมินผล ถือเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการวัดความสำเร็จของผลการดำเนินงาน ซึ่งประกอบด้วย 2 ส่วน คือ 1.การติดตามผล เป็นการติดตามตรวจสอบความก้าวหน้าในการดำเนินงานการจัดสรรทรัพยากร เป็นการพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ทรัพยากรในโครงการกับผลผลิตของโครงการร่วมกับปัจจัยภายนอกที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน การติดตามผลเป็นเครื่องมือในช่วงการปฏิบัติงานของโครงการเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าการส่งมอบปัจจัยการผลิต กำหนดการทำงาน การผลิตผลผลิตและการดำเนินงานต่าง ๆ ได้ดำเนินงานไปตามแผนพัฒนาการศึกษาที่คณะฯ วางไว้ โดยให้มีการติดตามผลความสำร็จของการให้บริการวิชาการจากผู้ให้บริการ 2.การประเมินผล เป็นการศึกษาผลลัพธ์/ผลสำเร็จของโครงการบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2558 เพื่อสามารถที่จะวางแผนงานว่ามีการใช้ทรัพยากร / ปัจจัยต่าง ๆ อย่างไรมีการดำเนินงานเป็นไปตามแผนพัฒนาการศึกษา ตามขั้นตอน ตามกฎเกณฑ์ และตามเวลาที่กำหนดหรือไม่ตลอดจนมีผลงานเป็นไปตามแผน วัตถุประสงค์ และเป้าหมายหรือไม่ - มีการประเมินผลระหว่างการดำเนินงาน หรือการประเมินผลภายหลังการดำเนินงานและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการสร้างอาชีพอุตสาหกรรมและชุมชน เพื่อที่จะได้นำผลการบริการวิชาการ นำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างแท้จริง และเกิดการเชื่อมโยงกับภาครัฐและเอกชน -มีการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์เอกสาร นวัตกรรม ชุดความรู้และอื่นๆ โดยมีการสัมภาษณ์ผู้ให้บริการวิชาการ และสัมภาษณ์ผู้ได้รับผลประโยชน์จากโครงการบริการวิชาการ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อประเมินผลลัพธ์/ผลสำเร็จ โดยภาพรวมของโครงการบริการวิชาการให้แก่บุคลากรของคณะฯ
เพื่อค้นหาปัญหาและอุปสรรค และจัดทำข้อเสนอนะต่อคณะกรรมการบริหารงานบริการวิชาการ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลการบริการวิชาการที่เป็นรูปธรรม เพื่อเป็นประโยชน์ต่อสังคม
KPI 1 : จำนวนกิจกรรมบริการวิชาการที่ผู้รับบริการนำไปใช้ได้จริง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 กิจกรรม 2
KPI 2 : ร้อยละของกิจกรรมที่แล้วเสร็จตามระยะเวลา
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้ที่ได้รับทุนสนับสนุนโครงการบริการวิชาการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 4 : จำนวนกิจกรรมที่ได้รับการติดตามและประเมินผล
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 กิจกรรม 5
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลการบริการวิชาการที่เป็นรูปธรรม เพื่อเป็นประโยชน์ต่อสังคม
ชื่อกิจกรรม :
การติดตามและประเมินผลงานบริการวิชาการ โดยการทำแบบสอบถาม การสำรวจติดตามและจัดทำรายงานและประเมินผล

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 31/08/2560 - 30/09/2560
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนันท์ภัสร์  ราษฎร์นิยม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล