10490 : โครงการสืบสานวัฒนธรรมและบำเพ็ญประโยชน์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2560
น.ส.กัลย์ชิสา นามวงศ์พรหม (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 27/7/2560 11:27:29
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา (เบิกจ่ายจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
12/08/2560  ถึง  21/08/2560
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินรายได้จากเงินพัฒนานักศึกษา ประจำปี พ.ศ. 2560 แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานรอง:แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ผลผลิต ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กิจกรรมสนับสนุนบริหารจัดการทั่วไป(ด้านวิทย์) แผนงานการเรียนการสอน งานสนับสนุนการจัดการศึกษา กองทุนกิจการนักศึกษา งบเงินอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป โครงการตามภารกิจพัฒนางานเดิม (ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3) ประเด็นยุทธศาสตร์คณะผลิตฯ ที่ 1 ผลิตบัณฑิตทางด้านการเกษตรที่มีคุณภาพ มีทักษะ ความชำนาญด้านวิชาชีพ ใฝ่รู้ สู้งาน มีคุณธรรมจริยธรรม เป็นที่ยอมรับของสังคมและในระดับนานาชาติ 2560 10,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. กอบลาภ  อารีศรีสม
น.ส. กัลย์ชิสา  นามวงศ์พรหม
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เรืองชัย  จูวัฒนสำราญ
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2560 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 60 MJU 3 การผลิตบัณฑิต หลักสูตร และการพัฒนานักศึกษา
เป้าประสงค์ 60MJU3.2 การพัฒนานักศึกษาให้เป็นพลเมืองของโลก และมีความสามารถ ในการเข่งขันได้
ตัวชี้วัด 60MJU3.09 ความสำเร็จในการพัฒนาบัณฑิตให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์
กลยุทธ์ 60MJU3.11 ส่งเสริมแนวทางการจัดกิจกรรมนักศึกษาที่มีการบ่มเพาะจิตสำนึกอันดีในความรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว สังคมและสิ่งแวดล้อม เป็นปัญญาอาสา จิตอาสา แก้ไขปัญหาชุมชนและลงมือปฏิบัติจริง
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2560] ประเด็นยุทธศาสตร์ 60 ผก. 1 ผลิตบัณฑิตทางด้านการเกษตรที่มีคุณภาพ มีทักษะ ความชำนาญด้านวิชาชีพ ใฝ่รู้ สู้งาน มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นที่ยอมรับของสังคม และในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 60 ผก.1 บัณฑิตด้านการเกษตรมีคุณภาพ มีความชำนาญด้านวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นที่ยอมรับนระดับชาติและนานาชาติ
ตัวชี้วัด 60 ผก.1.2 ร้อยละของนักศึกษาที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพตามกรอบ TQF 5 ด้าน
กลยุทธ์ 60 ผก.1.2 พัฒนานักศึกษาให้มีศักยภาพตามกรอบ TQF 5 ด้าน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

วัฒนธรรมของชาวล้านนาไทย คือ วิถีชีวิตของชาวล้านนาไทย เป็นแบบแผนของการประพฤติปฏิบัติที่ดีงาม และการแสดงออกถึงความรู้สึกนึกคิดในสถานการณ์ต่างๆ ที่สมาชิกในสังคมล้านนา สามารถรู้ เข้าใจ ซาบซึ้ง ยอมรับ และใช้ปฏิบัติร่วมกัน ล้านนาไทย หรือ ดินแดนล้านนานั้นหมายถึงดินแดนบางส่วนของอาณาเขตบริเวณ ลุ่มน้ำแม่โขง ลุ่มน้ำสาละวิน แม่น้าเจ้าพระยา ตลอดจนเมืองที่ตั้งตามลุ่มน้ำสาขาเช่นแม่นำกก แม่น้ำปิง แม่น้ำวัง แม่น้ำยม แม่น้ำน่าน แม่น้ำปาย แม่น้ำแตง แม่น้ำงัด ฯลฯ โดยมีอาณาเขตทางทิศใต้จดเมืองตาก (อำเภอบ้านตากในปัจจุบัน) และจดเขตดินแดนด้านเหนือของอาณาจักรสุโขทัย ทิศตะวันตกเลยลึกเข้าไปในฝั่งตะวันตกของแม่น้ำสาละวิน ทิศตะวันออกจดฝั่งตะวันตกของแม่น้ำโขง ทิศเหนือจดเมืองเชียงรุ่ง (หรือคนจีนเรียกในปัจจุบันว่า เมืองจิ่งหง) ซึ่งบริเวณชายขอบของล้านนา อาทิ เมืองเชียงตุง เชียงรุ่ง เมืองยอง เมืองปุ เมืองสาด เมืองนาย เป็นบริเวณที่รัฐล้านนาแผ่อิทธิพล ไปถึงในเมืองนั้นๆ ๘ จังหวัดล้านนา ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย ลำปาง ลำพูน พะเยา แพร่ น่าน และแม่ฮ่องสอน ได้รับการกำหนดเป็นเส้นทางท่องเที่ยว โดยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) จัดทำขึ้น เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม ให้นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศ ได้มีโอกาสสัมผัส...เรียนรู้...และเข้าใจวิถีชีวิตความเป็นล้านนา ซึ่งความแน่นแฟ้นในความเป็นล้านนายังดำรงอยู่อย่างชัดเจนในประเพณีและวิคีชีวิตของผู้คน หากแต่"ล้านนา"แม้มาจากรากเดียวกันก็ยังมี"ความต่าง"ในแต่ละพื้นที่ สโมสรนักศึกษาคณะผลิตกรรมการเกษตร มีความต้องการจะเชิดชูวัฒนธรรมอันลึกซึ้งละเอียดอ่อน โดยจัดกิจกรรม นำนักศึกษา เดินทางไป ถวายเทียนพรรษา ฟังเทศนาธรรม สักการะพระธาตุ "พุทธคยา" จำลองแบบพุทธคยา ประเทศอินเดีย ณ วัดจองคำ อ.งาว จ.ลำปาง ให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมจิตอาสาปลูกต้นไม้ประจำท้องถิ่น พร้อมเรียนรู้วัฒนธรรมล้านนาไทย ทั้งด้านการเกษตรและวิถีชีวิต เยี่ยมชมงานหัตถศิลป์ได้ตามความสนใจ กิจกรรมถวายเทียนพรรษา ผ้าอาบน้ำฝน สำหรับให้พระภิกษุ จุดเทียนปฏิบัติธรรมจำพรรษาตลอด 3 เดือน และใช้ผ้าอาบน้ำฝนในการอาบน้ำชำระล้างร่างกาย อนิสงค์ของการถวายสิ่งของอันจำเป็นแก่การจำพรรษาของภิกษุ จะทำให้ผู้ถวายมีความสุขจากการให้ และเชื่อว่าชีวิตจะราบรื่นเพราะมีแสงสว่างนำทาง อีกทั้งยังเป็นการช่วยสืบทอดพระพุทธศาสนา ให้มีความมั่นคงต่อไป วัฒนธรรม จะก่อให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ทำให้คนไทยมีความรู้สึกผูกพัน สามารถพึ่งพาอาศัยกันและกันได้ และสิ่งสำคัญยิ่งคือจะช่วยสร้างเสริมให้นักศึกษา คณะผลิตกรรมการเกษตร มีจิตสำนึกถึงการส่งเสริมและอนุรักษ์วัฒนธรรมของชาวล้านนาไทยให้สืบทอดต่อ ๆ กันถึงรุ่นลูกรุ่นหลาน และเป็นการสร้างความสมัครสมานสามัคคีของหมู่คณะ ให้มีปณิธานร่วมกันที่จะสืบสานวัฒนธรรมไทยให้คงอยู่ จะเห็นว่าประเพณีและวัฒนธรรม มีความสำคัญและมีคุณค่าอย่างยิ่งต่อสังคมไทย สมควรที่เราจะต้องตระหนักถึงความสำคัญและคุณค่าดังกล่าว โดยร่วมกันสืบสานจรรโลงประเพณีและวัฒนธรรมที่ดีงามของไทยให้คงอยู่สืบไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้วิถีวัฒนธรรม ภูมิปัญญาด้านการเกษตร ล้านนาไทย
เพื่อส่งเสริมและถ่ายทอดการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมล้านนาไทยให้แก่นักศึกษา
เพื่อให้นักศึกษาได้พัฒนาทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ และด้านคุณธรรม จริยธรรม
เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษาเกิดจิตอาสา และอนุรักษ์ธรรมชาติ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาได้ทำกิจกรรมจิตอาสาปลูกต้นไม้ประจำท้องถิ่น พร้อมเรียนรู้วัฒนธรรมล้านนาไทย ทั้งด้านการเกษตรและวิถีชีวิต เยี่ยมชมงานหัตถศิลป์ได้ตามความสนใจ และร่วมทำบุญ ถวายเทียนพรรษา ผ้าอาบน้ำฝนตามประเพณี ซึ่งเป็นการพัฒนาทักษะด้านความสัมพันธ์และความรับผิดชอบและด้านคุณธรรม จริยธรรม (TQF)
KPI 1 : ระดับที่นักศึกษาได้รับการส่งเสริมและถ่ายทอดการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมล้านนาไทยให้แก่นักศึกษา
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ระดับ 3.5
KPI 2 : ระดับความสำเร็จในการปลูกฝังให้นักศึกษาเกิดจิตอาสา และอนุรักษ์ธรรมชาติ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ระดับ 3.5
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 4 : ระดับที่นักศึกษาได้พัฒนาทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ และด้านคุณธรรมจริยธรรม (TQF)
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ระดับ 3.5
KPI 5 : ระดับที่นักศึกษาเรียนรู้วิถีวัฒนธรรม ภูมิปัญญาด้านการเกษตร ล้านนาไทย
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ระดับ 3.5
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาได้ทำกิจกรรมจิตอาสาปลูกต้นไม้ประจำท้องถิ่น พร้อมเรียนรู้วัฒนธรรมล้านนาไทย ทั้งด้านการเกษตรและวิถีชีวิต เยี่ยมชมงานหัตถศิลป์ได้ตามความสนใจ และร่วมทำบุญ ถวายเทียนพรรษา ผ้าอาบน้ำฝนตามประเพณี ซึ่งเป็นการพัฒนาทักษะด้านความสัมพันธ์และความรับผิดชอบและด้านคุณธรรม จริยธรรม (TQF)
ชื่อกิจกรรม :
จิตอาสาบำเพ็ญประโยชน์ พร้อมเรียนรู้ประเพณี วัฒนธรรมล้านนาไทย
ณ วัดจองคำ อ.งาว จ.ลำปาง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 20/08/2560 - 20/08/2560
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.กัลย์ชิสา  นามวงศ์พรหม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.กอบลาภ  อารีศรีสม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.กมลลักษณ์  มณีเกี๋ยง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหาร คนละ 200 บาท จำนวน 50 คน = 10,000 คน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 10000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล