10221 : โครงการเสวนาทางวิชาการ คณะเศรษฐศาสตร์ ประจำปี 2560
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2560
น.ส.กาญจนา ชิดทอง (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 2/5/2560 9:18:35
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
05/06/2560  ถึง  05/06/2560
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  130  คน
รายละเอียด  บุคคลภายนอก จำนวน 100 คน บุคลากรคณะเศรษฐศาสตร์ จำนวน 30 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะเศรษฐศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน กองทุนสนับสนุนวิชาการและพัฒนานักศึกษา คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2560 52,925.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. สุรชัย  กังวล
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร. ประเสริฐ  จรรยาสุภาพ
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเศรษฐศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2560 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 60 MJU 5 การบริการวิชาการเพื่อพัฒนาชุมชน สังคม
เป้าประสงค์ 60MJU5.1 มหาวิทยาลัยมีระบบการบริหารจัดการงานบริการวิชาการที่ดีมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 60MJU5.04 ความพึงพอใจของหัวหน้าโครงการต่อระบบการบริหารจัดการการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 60MJU5.4 พัฒนาต้นแบบงานบริการวิชาการ/ฐานเรียนรู้ด้านการเกษตรที่เน้นการถ่ายทอดเทคโนโลยีเกิดการเรียนรู้และสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2560] ประเด็นยุทธศาสตร์ 60ECON-4 การบริการวิชาการเพื่อชุมชนและสังคม
เป้าประสงค์ 60ECON 4.1 ให้บริการวิชาการมุ่งเน้นการพัฒนาเชิงพื้นที่
ตัวชี้วัด 60ECON 4.2 จำนวนครั้งการจัดประชุมสัมมนาทางวิชาการ
กลยุทธ์ 60ECON 4.2.1 จัดประชุม สัมมนาและหลักสูตรการอบรมที่สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและสังคม ระดับชาติ/นานาชาติ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ประเทศไทยในยุค 4.0 ก่อนจะมาถึง 4.0 นั้นอดีตเริ่มต้นมาจาก 1.0 – 3.0 – ประเทศไทย 1.0 ยุคของเกษตรกรรมคนไทยปลูกข้าว เลี้ยงเป็ด เลี้ยงไก่ เลี้ยงหมู ปลูกพืชสวน พืชไร่ แล้วนำผลผลิตเพื่อส่งไปขายสร้างรายได้ในการดำรงชีวิต – ประเทศไทย 2.0 ยุคของอุตสาหกรรมเบา ในยุคนี้ใช้แรงงานที่มีราคาถูก แต่เริ่มจะมีเครื่องไม้เครื่องมือเข้ามาช่วยผลิต เช่น เสื้อผ้า กระเป๋า เครื่องดื่ม เครื่องเขียน เครื่องประดับ อาหาร เครื่องใช้ไฟฟ้า เป็นต้น ซึ่งในยุคนี้ประเทศเริ่มมีศักยภาพมากขึ้น – ประเทศไทย 3.0 ยุคที่เราอยู่ในขณะนี้ เป็นยุคอุตสาหกรรมหนัก ผลิตและขายส่งออกเหล็กกล้า รถยนต์ ก๊าชธรรมชาติ และปูนซีเมนต์ เป็นต้น โดยพึ่งพาเทคโนโลยีจากต่างประเทศ เพื่อเน้นการส่งออกเป็นหลัก ประเทศไทย 4.0 เปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง ปัจจุบันประเทศไทยยังติดอยู่กับโมเดลทำมากได้น้อย จึงต้องการปรับเปลี่ยนให้เป็นทำน้อยได้มาก ต้องเปลี่ยนจากการผลิตสินค้าโภคภัณฑ์ไปสู่สินค้านวัตกรรม และเปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศด้วยภาคอุตสาหกรรมไปสู่การขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม อย่างการเกษตรต้องเปลี่ยนจากการเกษตรแบบดั้งเดิมไปสู่การเกษตรแบบสมัยใหม่ ที่มีการเน้นเรื่องการบริหารจัดการ โดยการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ หรือที่เรียกว่า Smart Farming โดยเกษตรกรต้องเริ่มรวยขึ้นและเป็นเกษตรกรที่ผู้ประกอบการเปลี่ยนจาก SME แบบเดิมไปสู่ Smart Enterprises และ Startup ที่มีศักยภาพสูง และเปลี่ยนจากแรงงานทักษะต่ำไปสู่แรงงานที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญและทักษะสูงขึ้น “เกษตรกรไทยยุค THAILAND 4.0” โดย ดร.สุมิท แช่มประสิทธิ์ ประธานคณะกรรมการดำเนินการโครงการคนกล้าคืนถิ่น ได้ให้ความหมายไว้ว่า “ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเทคโนโลยี หรือจะเป็นยุค 4.0 หรืออนาคตที่ไกลกว่านั้น ภาคการเกษตรจะเป็นภาคส่วนที่ก้าวได้ช้าที่สุด เพราะ 4.0 ที่ทุกคนพูดถึงจะเป็นในเรื่องของนวัตกรรม และการเข้าใจในการใช้เทคโนโลยี ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่จะใช้ในวิถีเดิม ๆ ไม่สามารถใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์ได้ ตั้งแต่กระบวนการผลิต การหาข้อมูล หรือในส่วนอื่นที่จะเป็นประโยชน์ มองว่าหากจะไปถึง 4.0 ยังต้องปูพื้นอีกเยอะ ในเชิงความหมายหลายคนอาจพูดถึง 4.0 แต่ในทางปฏิบัตินั้นอะไรคือ 4.0 ภาคเกษตร ต้องเห็นชัดเจนในเชิงปฏิบัติ และที่สำคัญที่สุดคือ ทำอย่างไรเขาถึงจะเป็น 4.0 ได้” “ส่วนวิธีที่จะทำให้เขาเป็นได้นั้น ก็ต้องมีการปลูกฝัง เราไม่สามารถไปสอนได้ทุกเรื่องในรายละเอียด เพราะฉะนั้นสิ่งที่เราต้องทำก็คือ ฝึกให้เขาตื่นรู้ ค้นหาความรู้ได้ด้วยตัวเอง เป็นนักทดลอง จากนั้นก็ต้องทำให้เขาเชื่อมโยงกันในกลุ่มเพื่อช่วยเหลือกัน มีเครือข่ายถึงกัน สามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารได้ หากครบตามองค์ประกอบที่กล่าวมา ไม่ว่าธรรมชาติจะเปลี่ยนไปอย่างไร เทคโนโลยีจะเปลี่ยนไปอย่างไร ก็จะสังเกตและติดตามได้ หรือก้าวทันโลกนั่นเอง” ดังนั้น ด้วยการเล็งเห็นความรู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อการพัฒนาให้ก้าวทันสู่ยุคประเทศไทย 4.0 คณะเศรษฐศาสตร์จึงได้ร่วมกับสมาคมเศรษฐศาสตร์สหกรณ์แห่งประเทศไทย จัดโครงการเสวนาทางวิชาการ "ทิศทางการขับเคลื่อนการเกษตรและสหกรณ์ในยุค Thailand 4.0" ขึ้น ในวันที่ 5 มิถุนายน 2560 ณ ห้องประชุมเศรษฐนิทัศน์ อาคารยรรยง สิทธิชัย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยได้เชิญ 1) คุณถาวร สงคราม (ประธานกรรมการบริษัทโอท๊อปมาดเท่ห์) 2) คุณศิริชัย ออสุวรรณ (ประธานกรรมการชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด) 3) คุณประเสริฐ มาลัย (ผู้อำนวยการกองการเจ้าหน้าที่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์) 4) นายมงคลัตถ์ พุกะนัดด์ (ประธานสันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย) มาร่วมเสวนา โดยมี 5) รองศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ จรรยาสุภาพ (ประธานสหกรณ์ออมทรัพย์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์) เป็นผู้ดำเนินการเสวนาในครั้งนี้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทิศทางการขับเคลื่อนการเกษตรและสหกรณ์ในยุค Thailand 4.0
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมรับฟังการเสวนามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทิศทางการขับเคลื่อนการเกษตรและสหกรณ์ในยุค Thailand 4.0
KPI 1 : จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมรับฟังการสัมมนา (130 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 2 : ค่าคะแนนความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการต่อการจัดสัมมนาทางวิชาการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ค่าคะแนนเฉลี่ย 3.51
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมรับฟังการเสวนามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทิศทางการขับเคลื่อนการเกษตรและสหกรณ์ในยุค Thailand 4.0
ชื่อกิจกรรม :
การเสวนาทางวิชาการ เรื่อง ทิศทางการขับเคลื่อนการเกษตรและสหกรณ์ในยุค Thailand 4.0

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 05/06/2560 - 05/06/2560
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.สุรชัย  กังวล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่าง จำนวน 130 คน ๆ ละ 35 บาท จำนวน 2 มื้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,100.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 130 คน ๆ ละ 150 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 19,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าพาหนะวิทยากร จำนวน 4 คน ๆ ละ 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พักวิทยากร จำนวน 4 คน ๆ ละ 1,450 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาตกแต่งสถานที่
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1) ขนาด กว้าง 4.5 x ยาว 2.5 เมตร ตารางเมตรละ 100 บาท จำนวน 1 ผืน ๆ ละ 1,125 บาท และ 2) ป้ายไวนิลพร้อมโครงไม้ ขนาด กว้าง 1.2 x ยาว 2.4 เมตร จำนวน 5 ป้าย ๆ ละ 400 บาท รวม 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,125.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าของที่ระลึก (แฟลชไดร์ฟ จำนวน 4 ชิ้น)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่ากระเป๋าเอกสาร จำนวน 100 ใบ ๆ ละ 33 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,300.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าถ่ายเอกสาร จำนวน 100 ชุด ๆ ละ 25 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าปากกา จำนวน 100 ด้าม ๆ ละ 6 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเชื้อเพลิง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุในการดำเนินกิจกรรม
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 52925.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล