เมนู
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Maejo University
ติดต่อ
บุคลากร (เข้าสู่ระบบ)
หน้าหลัก
บุคลากร
พัฒนาบุคลากรและกิจกรรม
โครงการ การส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง Work-Integrated Leaning ที่สอดคล้องกับความต้องการของภาคเอกชน
การสร้างควมเข้าใจในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการพัฒนาการเรียนรู่้จากประสบการณ์ การปฏิบัติในสถานการณ์จริง (Work Integrated Learning) แก่ผู้บริหารระดับคณะ
วันที่เริ่มต้น
06/11/2563
เวลา
8:30
วันที่สิ้นสุด
06/11/2563
เวลา
16:30
ทั้งวัน
สถานที่จัด
ไม่ระบุ
ภายในสถาบัน
ในประเทศ
ต่างประเทศ
หน่วยงานที่จัด
ผู้รับผิดชอบ
ผู้เข้าร่วม
หน่วยงานที่จัด
คณะ/สำนัก
สาขา/กอง
หน่วยงานภายใน
ชื่อหน่วยงาน
ผู้รับผิดชอบหลัก
คณะผลิตกรรมการเกษตร
3
สาวิกา กอนแสง
เพ็ญนภา จักรสมศักดิ์
ปิยะ พละปัญญา
คณะบริหารธุรกิจ
1
สุชีรา ขยาย
คณะวิทยาศาสตร์
17
ภูสิต ปุกมณี
รัชดาภรณ์ ปันทะรส
วีรินท์รดา ทะปะละ
ปิยธิดา กล่ำภู่
พัชรี อินธนู
วิรันธชา เครือฟู
ธีรพล ธุระกิจเสรี
ศุภรัตน์ นาคสิทธิพันธุ์
เรวดี วงศ์มณีรุ่ง
สุพัตรา วงศ์แสนใหม่
นภัสถ์ จันทร์มี
ปราณรวีร์ สุขันธ์
ธวัฒน์ สร้อยทอง
สุภาพร ดาวทอง
นิตยา ใจทนง
โชคชัย ยาทองไชย
เนตราพร ด้วงสง
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
3
สุรศักดิ์ ชัยวิเศษ
อิศรา วัฒนนภาเกษม
รรินธร ธรรมกุลกระจ่าง
คณะพัฒนาการท่องเที่ยว
1
พิรุฬห์พัฒน์ ภู่น้อย
คณะศิลปศาสตร์
4
ดาราณี ชุมทอง
สุภาพร มโนวงศ์
สุวรรณ เลียงหิรัญถาวร
อาภาลัย สุขสำราญ
คณะเศรษฐศาสตร์
3
พรศักดิ์ โพธิอุโมงค์
ชนิตา พันธุ์มณี
พิมพิมล แก้วมณี
คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี
2
อานนท์ ปะเสระกัง
มงคล ยะไชย
คณะสารสนเทศและการสื่อสาร
3
กริ่งกาญจน์ เจริญกุล
วิชญา โคตรฐิติธรรม
ณภัทร เรืองนภากุล
สำนักบริหารและพัฒนาวิชาการ
21
อัจฉรา บุญเกิด
อาทิตยา ธรรมตา
ศรุดา ทองหลอม
รักษ์พิกุล วงศ์จักร์
นฤมล คงขุนเทียน
ฐิตารีย์ พรหมเศรษฐการ
ประสิทธิ์ มหาไม้
จิราวรรณ บัณฑิตภูริทัต
อลิษา อุ่นจิตต์
โสภา เขียวสุข
ทรงเกียรติ ปานพันธ์โพธิ์
ณัฐนันท์ จิราศรีทวีสิน
อัจฉราพร ศิวิลัย
ศิริพร หนูหล่อ
อภิชาติ เตภักดี
ทวี สุวรรณ
อุมาพร ยอดเสาดี
พรินทร บุญเรือง
เบญจมาภรณ์ วิริยา
วีระยุทธ ยะอินต๊ะ
จักรายุทธ์ กลิ่นจันทร์
บัณฑิตวิทยาลัย
1
สุภาวดี พรมทา
หน่วยงานภายนอก
6
อัทธยา เข็มเพ็ชร์
วรวิชญ์ จันทร์ฉาย
รัศมิ์ลภัส สุตีคา
ญาดามณี เขื่อนใจ
วราคม วงศ์ชัย
นิวัติ กิจไพศาลสกุล
รวม
65
ผู้รับผิดชอบหลัก (นักศึกษา)
ไม่มีข้อมูล
การยกระดับการเรียนรู้กับการพัฒนาชาติอย่างยั่งยืนและสามารถตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ และนโยบายดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ด้านการพัฒนากําลังคน โดยการสร้างความเข้มแข็งของบุคลากรให้พร้อมเข้าสู่ยุคเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล อุตสาหกรรม 10 ชนิด ที่มีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของชาติให้ก้าวกระโดด โดยพัฒนาอุตสาหกรรมใหม่ที่ต่อยอดจากอุตสาหกรรมเดิมของประเทศ หรือ First S-curve รวมถึงการพัฒนาอุตสาหกรรมใหม่ที่เรียกว่าอุตสาหกรรมอนาคต หรือ New S-curve
การพัฒนานักศึกษาให้มีความรู้พื้นฐานของการมีทักษะของการเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurship) จะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศในหลายๆ ด้าน ได้แก่ การสร้างนักรบเศรษฐกิจใหม่ (Startups) รวมถึงการมีพื้นฐานการวิจัยและพัฒนาเพื่อต่อยอดในเชิงการค้า หรือ สร้างนวัตกรรมใหม่ได้ โดยอาศัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นรากฐาน เป็นต้น มหาวิทยาลัยมีทรัพยากรทั้งนักศึกษา บุคลากร งานวิจัย เทคโนโลยี นวัตกรรม และโครงสร้างพื้นฐาน ที่เอื้อต่อการวางแนวทางการสร้างระบบนิเวศ (Ecosystem) ของ Startup ให้เกิดขึ้นภายในมหาวิทยาลัย เพื่อส่งเสริมให้เกิด
มหาวิทยาลัยแห่งการประกอบการ (Entrepreneurial University) ดังนั้นการสร้างวัฒนธรรมการเรียนการสอน อันนำไปสู่การปลูกฝังความคิดการเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurship) จึงเป็นสิ่งที่ควรให้ความสำคัญในยุค Thailand 4.0 โดยมหาวิทยาลัยจะส่งเสริมการพัฒนางานวิจัยในระดับปริญญาตรี รวมถึงการปฏิบัติสหกิจศึกษาร่วมกับสถานประกอบการ เพื่อสร้างนวัตกรรมใหม่นำไปสู่การสร้างธุรกิจใหม่ (Startups) ได้
การจัดการเรียนการสอนหรือกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ จะส่งผลต่อการพัฒนาทักษะด้านวิชาการของนักศึกษาอย่างยั่งยืน โดยแนวทางการจัดการเรียนการสอนนั้นสามารถทำได้หลายแนวทาง แนวทางที่สามารถตอบโจทย์การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และตอบโจทย์พฤติกรรมการเรียนรู้ของนักศึกษาในยุคดิจิตัล คือ การพัฒนากระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริงหรือการปฏิบัติงานจริง (Work Integrated Learning, WIL) การพัฒนากระบวนการเรียนรู้โดยสอดแทรกทักษะทางปัญญา (Soft skills) ซึ่งจะทำให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง (Continuous learning) ด้วยตนเอง สิ่งหนึ่งที่สำคัญไม่ด้อยไปกว่ากัน คือ การสร้างโอกาสแก่ผู้เรียนในการประกอบอาชีพทั้งการได้ฝึกประสบการณ์ตรงจากผู้ประกอบการ และการออกแบบธุรกิจเพื่อการเป็นผู้ประกอบการของผู้เรียนที่มีความยืดหยุ่นเป็นการเพิ่มทักษะแก่ผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จากเหตุผลดังกล่าวมหาวิทยาลัยแม่โจ้มีแนวทางในการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาหลักสูตร รวมถึงการพัฒนาคณาจารย์ เพื่อตอบสนองการการส่งเสริมการเรียนรู้ตามอัธยาศัยอย่างทั่วถึงแบบบูรณาการข้ามศาสตร์ โดยมีการกำหนดขอบเขตและเนื้อหากิจกรรมที่จะดำเนินการภายใต้โครงการดังกล่าวใน 3 รูปแบบดังนี้
- การส่งเสริมการพัฒนางานวิจัยของนักศึกษาสู่การพัฒนาสร้างธุรกิจใหม่ (Startups)
- การบูรณาการการเรียนรู้จากประสบการณ์ การปฏิบัติในสภาพจริง (Work Integrated Learning) ที่มีระบบภาคีความร่วมมือเป็นเครือข่ายภาคการศึกษาและสถานประกอบการหรือภาคอุตสาหกรรม ที่มีความพร้อมเพื่อต่อยอดการพัฒนาที่สนองตอบต่อความต้องการของสถานประกอบการหรือภาคอุตสาหกรรม
- การสร้างความร่วมมือระหว่างหลักสูตรกับภาคอุตสาหกรรม (Public Private Partnership) เพื่อการพัฒนาการเรียนรู้ระยะยาว
(ผู้บันทึกข้อมูล)
ข้อมูลวันที่ :
22/12/2563 10:13
รายละเอียดเพิ่มเติม
ตอนที่
1
รายละเอียด
ประเภท/ลักษณะงาน
ไม่ระบุ
เกี่ยวข้องกับกิจกรรม
ไม่ระบุ
ระดับ
อื่นๆ
ปริมาณงานทั้งหมด
7
ชั่วโมง
วัน
เป้าหมายผู้เข้าร่วม
100
คน
จำนวนผู้เข้าร่วม
76
คน
ตอนที่
2
รายรับ-รายจ่าย
รายรับ
ไม่ระบุ
บาท
มูลค่ารายรับ
ไม่ระบุ
บาท
ค่าใช้จ่าย
ไม่ระบุ
บาท
มูลค่าค่าใช้จ่าย
ไม่ระบุ
บาท
ตอนที่
3
ผลการดำเนินงาน
ไม่ระบุ
ตอนที่
4
สอดคล้องสมรรถนะ
ประเภทสมรรถนะ
สมรรถนะหลักของมหาวิทยาลัย
สมรรถนะประจำกลุ่มงาน
สมรรถนะของผู้บริหาร
ตอนที่
5
เอกสารอ้างอิง
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่
6
ภายใต้โครงการ
โครงการ การส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง Work-Integrated Leaning ที่สอดคล้องกับความต้องการของภาคเอกชน
ตอนที่
7
ภายใต้งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่
8
การบูรณาการ
ไม่มีข้อมูล