โครงการเสริมสร้างผู้ประกอบการรุ่นเยาว์และพัฒนาทักษะอาชีพด้วยผลิตภัณฑ์สินค้าและบริการโดยนักศึกษา : Project of student a new entrepreneurs startup

วันที่เริ่มต้น 16/12/2566 เวลา 0:00 วันที่สิ้นสุด 24/12/2566 เวลา 0:00
สถานที่จัด อาคารสุวรรณวาจกกสิกิจ คณะพัฒนาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 

หน่วยงานที่จัด ผู้รับผิดชอบ ผู้เข้าร่วม
หน่วยงานที่จัด
คณะ/สำนัก คณะพัฒนาการท่องเที่ยว สาขา/กอง หน่วยงานภายใน  
ผู้รับผิดชอบหลัก
ไม่มีข้อมูล

ผู้รับผิดชอบหลัก (นักศึกษา)
6301125337   นางสาวศศิธร   คำปวง : การส่งเสริมและสื่อสารเกษตร 54ชั่วโมง
6309101346   นางสาวปิยากร   คำจันทร์ : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6401102316   นายคชพัฒน์   ส่างขุน : พืชสวน 54ชั่วโมง
6401102426   นายวรรธณพล   ใหม่คามิ : พืชสวน 54ชั่วโมง
6409101301   นายกนก   กัณทะวงค์ : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6409101308   นายณัฎฐากร   อำพรรณ์ : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6409101311   นางสาวดาราทิพย์   เมืองมอง : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6409101314   นางสาวนันทิชา   ศรีนำปน : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6409101315   นางสาวนิรดา   มะลิโค : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6409101317   นางสาวปภาวรินท์   พลดร : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6409101320   นางสาวพิมพ์ภัสสร   ศรีธิ : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6409101324   นางสาวรุ่งทิวา   จิระเพชรอำไพ : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6409101325   นางสาวลลิตภัทร   วงษ์นาค : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6409101326   นางสาววรรณษา   โสทัน : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6409101328   นางสาววารุณี   แตงนวลจันทร์ : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6409101330   นายสิทธิโชค   สมบูรณ์ศรี : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6409101334   นางสาวสุภาธิณี   แสนคำ : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6409101335   นางสาวอภิญญา   ปาลี : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6409101337   นางสาวอริญาพร   เล็นดำ : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6409101338   นางสาวอลิสา   พานบรรเจิด : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6409101339   นางสาวอักษราภัค   ปัญญายืน : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6409101344   นางสาวฐาปณีย์   มณีโชติ : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6409101349   นางสาวธวัลรัตน์   วัฒนสันติ์ : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6409101355   นางสาวเบญจพร   เฮ่าเมา : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6409102304   นางสาวฑิตฐิตา   แป้นพุ่ม : การจัดการธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ 54ชั่วโมง
6409102306   นางสาวธนกาญจน์   คุ้มพร้อม : การจัดการธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ 54ชั่วโมง
6509101031   นางสาวพัชรินทร์   สัมพันธ์ : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6509101041   นางสาวลลิตา   ทนันชัย : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6509101042   นางสาวลักษณารีย์   สมประสงค์ : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6509101068   นางสาวณพัชชนันท์   รังวิเรนทร์ : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6509101305   นายกฤษฎิ์   เชื้อสิงห์ : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6509101329   นายณัฐดนัย   คำภิระ : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6509101386   นางสาววารียา   ดำผอม : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6509101406   นางสาวอัญจรีย์   อินประภักตร์ : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6509101413   นายนนทพันธ์   พุฒินาถสุวรรณ : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6509102317   นางสาวจุฑารัตน์   ทองจันทร์ : การจัดการธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ 54ชั่วโมง
6509102351   นางสาวบุรฉัตร   ทองหนัก : การจัดการธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ 54ชั่วโมง
6509102360   นางสาวพิมพ์ลภัส   ฉันทพิชญาพร : การจัดการธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ 54ชั่วโมง
6509102363   นางสาวเพ็ญพร   โพธิ์ศรี : การจัดการธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ 54ชั่วโมง
6509102368   นางสาวภัทรานิษฐ์   จอมแสง : การจัดการธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ 54ชั่วโมง
6509102389   นางสาวศิริกร   คนแรง : การจัดการธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ 54ชั่วโมง
6512107337   นางสาวเพิ่มพร   กันแพงสิริ : เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ 54ชั่วโมง
6606102399   นายณัฐนนท์   นันตาบุญ : นวัตกรรมการตลาด และการตลาดดิจิทัล 54ชั่วโมง
6609101339   นางสาวณัฎฐา   ศรีประสิทธิ์ : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6609101426   นายศุภณัฐ   วงค์แก้ว : พัฒนาการท่องเที่ยว 54ชั่วโมง
6618102003   นายกฤตภาส   บุญเรือนสิริ : การสื่อสารดิจิทัล 54ชั่วโมง
6618102454   นายบูรณพล   นาคเสนีย์ : การสื่อสารดิจิทัล 54ชั่วโมง
6618102497   นางสาวฟลอร่า บรรเลิศ   น็อกซ์ : การสื่อสารดิจิทัล 54ชั่วโมง
6618102679   นายพีรณัฐ   สาคริกานนท์ : การสื่อสารดิจิทัล 54ชั่วโมง
เป็นที่ทราบกันดีว่าประเทศไทยนั้นเป็นประเทศที่ติดอยู่กับดักรายได้ปานกลางมาเป็นระยะเวลานาน แม้ว่าประเทศไทยจะเป็นประเทศผู้ผลิตสินค้าและส่งออกสินค้าที่ติดอันดับโลกหลายรายการก็ตาม แต่เนื่องจากประเทศไทยไม่ได้เป็นเจ้าของแบรนด์สินค้านั้น ๆ ประกอบกับประเทศไทยมีจำนวนผู้ประกอบการเองไม่มากพอ จึงไม่สามารถสร้างรายรับให้ประเทศได้มากนัก ดังนั้นรัฐบาลจึงมีนโยบายในการสร้างให้เกิดผู้ประกอบการรายใหม่ ให้เกิดมากขึ้นขึ้น และกระจายไปยังพื้นที่ต่าง ๆ โดยเฉพาะในส่วนภูมิภาค ทั้งนี้ ผู้ประกอบการที่จะช่วยสร้างการเติมโตทางเศรษฐกิจได้มากคือกลุ่ม startup ซึ่งเป็นผู้ประกอบการที่มีสินค้านวัตกรรม และมีการวิจัยพัฒนาเป็นฐานซึ่งการสร้างให้เกิดผู้ประกอบการกลุ่ม startup นั้นทางมหาวิทยาลัยจำเป็นจะต้องเข้ามามีส่วนร่วม เนื่องจากมหาวิทยาลัยเป็นแหล่งความรู้และผลงานวิจัยที่สามารถพัฒนาไปเป็นสินค้าที่มีศักยภาพได้ โครงการสร้าง startup เป็นโครงการที่จัดทำขึ้นตามนโยบายและทิศทาการทำงานของภาครัฐบาล ภายใต้แนวคิดของการสร้างช่องทางให้มีการนำเสนอผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่เกิดจากการศึกษา และผลงานของ startup ทั่วไป ให้ได้มีเวทีในการนำผลงานมาขยายผลเชิงรุกไปสู่เชิงพานิชย์ นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมการสร้าง startup ในพื้นที่ โดยมีเป้าหมายเป็นกลุ่มนักศึกษา อีกด้วย โครงการนี้ประกอบไปด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย กิจกรรมฝึกอบรม พัฒนาทักษะอาชีพ startup โดยเปิดรับนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ และรับคำชี้แนะจากผู้มีประสบการณ์จากทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน ซึ่งเป็นการเพิ่มเติมความรู้ให้แก่ผู้สนใจในการเริ่มธุรกิจ startup นอกจากนี้ยังมีการจัดกิจกรรมแสดงสินค้า และผลงานของ startup โดยเป็นการจัดในรูปแบบของงานดนตรีประจำสัปดาห์ ซึ่งภายในงานจะสามารถช่วยให้นักศึกษาผู้ร่วมโครงการได้มีการฝึกทักษะ การจัดงานงาน และยังเป็นการการทดสอบตลาด และสร้างความตระหนักเกี่ยวกับการเป็นผู้ประกอบการ startup ให้แก่นักศึกษาอีกด้วย
รายละเอียดเพิ่มเติม
ตอนที่ 1 รายละเอียด
ประเภท/ลักษณะงาน ไม่ระบุ
เกี่ยวข้องกับกิจกรรม ไม่ระบุ
ระดับ อื่นๆ
ปริมาณงานทั้งหมด 54  
เป้าหมายผู้เข้าร่วม 100 คน
จำนวนผู้เข้าร่วม   ไม่ระบุ คน
ตอนที่ 2 รายรับ-รายจ่าย
รายรับ   ไม่ระบุ บาท
มูลค่ารายรับ   ไม่ระบุ บาท
ค่าใช้จ่าย ไม่ระบุ บาท
มูลค่าค่าใช้จ่าย   ไม่ระบุ บาท
ตอนที่ 3 ผลการดำเนินงาน
ไม่ระบุ
ตอนที่ 4 สอดคล้องสมรรถนะ
ประเภทสมรรถนะ
ตอนที่ 5 เอกสารอ้างอิง
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 6 ภายใต้โครงการ
ตอนที่ 7 ภายใต้งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 8 การบูรณาการ
ไม่มีข้อมูล