โครงการสืบฮีตสานฮอยป๋าเวณีเดือนยี่ (ช่วยจัดทำวัสดุ-อุปกรณ์)

วันที่เริ่มต้น 13/11/2566 เวลา 9:00 วันที่สิ้นสุด 14/11/2566 เวลา 16:00
สถานที่จัด มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 

หน่วยงานที่จัด ผู้รับผิดชอบ ผู้เข้าร่วม
หน่วยงานที่จัด
คณะ/สำนัก สำนักงานมหาวิทยาลัย สาขา/กอง กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม หน่วยงานภายใน  
ผู้รับผิดชอบหลัก
ไม่มีข้อมูล

ผู้รับผิดชอบหลัก (นักศึกษา)
ประเพณีเดือนยี่ หรือประเพณียี่เป็ง คำว่า ยี่ ในภาษาล้านนาหมายถึงเดือน 2 ซึ่งตรงกับวันเพ็ญสิบสองของภาคกลาง การนับเดือนของล้านนานั้น เร็วกว่าภาคกลาง 2 เดือน อันเนื่องมาจากการนับเดือนของงชาวล้านนา เป็นการนับทางจันทรคติแบบจีน ประเพณีเดือนยี่เป็ง ถือเป็นประเพณีที่สนุกสนานรื่นเริงของชาวล้านนาในยามฤดูปลายฝนต้นหนาว ท้องทุ่งข้าวออกรวงเหลืองอร่าม บางแห่งอยู่ในระหว่างเก็บเกี่ยว ท้องฟ้าปลอดโปร่งแจ่มใสยิ่งนัก
ดังนั้น ในช่วงฤดูนี้ เด็ก ๆ จึงพากันเล่นว่าวกันอย่างสนุกสนานตามท้องทุ่ง และยิ่งเข้าใกล้วันเพ็ญสิบห้าค่ำเดือนยี่ มักจะได้ยิ้นเสียง บอกถบ (ประทัด) ที่ชาวล้านนาจุดเล่นดังอยู่ทั่วไป พระและเณรช่วยกันทำว่าวลม (โคมลอย) และปล่อยขึ้นสู่ท้องฟ้า เตรียมทำฟางประทีส (ประทีบ) เพื่อจุดไว้จุดบูชา ทำโคมไฟไว้แขวนหน้าบ้านประดับตกแต่ง กิจกรรมเหล่านี้ เป็นสัญลักษณ์บอกว่าใกล้จะสู่เดือนยี่เป็งแล้ว
ในปัจจุบันด้วยวัฒนธรรมประเพณีและการสถานการณ์ต่าง ๆ ได้เปลี่ยนไป กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม จึงมีแนวคิดในการอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรม ประเพณีไว้ เพื่อให้นักศึกษา บุคลากรของมหาวิทยาลัย ร่วมกันอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมไว้ โดยการบูรณาการร่วมกับองค์การนักศึกษา สภานักศึกษา สโมสรนักศึกษาทุกคณะ จึงร่วมกันจัดโครงการสืบฮีตสานฮอยป๋าเวณีเดือนยี่ โดยจัดกิจกรรมกาดหมั่วครัวฮอม ฐานเรียนรู้การทำโคมล้านนา ฐานเรียนรู้ทำผาง ประทีส (ประทีป) การแสดงศิลปวัฒนธรรมล้านนา
รายละเอียดเพิ่มเติม
ตอนที่ 1 รายละเอียด
ประเภท/ลักษณะงาน ไม่ระบุ
เกี่ยวข้องกับกิจกรรม ไม่ระบุ
ระดับ ในสถาบัน
ปริมาณงานทั้งหมด 3  
เป้าหมายผู้เข้าร่วม 35 คน
จำนวนผู้เข้าร่วม   35 คน
ตอนที่ 2 รายรับ-รายจ่าย
รายรับ   ไม่ระบุ บาท
มูลค่ารายรับ   ไม่ระบุ บาท
ค่าใช้จ่าย ไม่ระบุ บาท
มูลค่าค่าใช้จ่าย   ไม่ระบุ บาท
ตอนที่ 3 ผลการดำเนินงาน
ไม่ระบุ
ตอนที่ 4 สอดคล้องสมรรถนะ
ประเภทสมรรถนะ
ตอนที่ 5 เอกสารอ้างอิง
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 6 ภายใต้โครงการ
ตอนที่ 7 ภายใต้งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 8 การบูรณาการ
ไม่มีข้อมูล