เมนู
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Maejo University
ติดต่อ
บุคลากร (เข้าสู่ระบบ)
หน้าหลัก
บุคลากร
พัฒนาบุคลากรและกิจกรรม
โครงการพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ “Tobiz ธุรกิจจำลอง” 2566 (วันที่1)
วันที่เริ่มต้น
11/10/2566
เวลา
17:00
วันที่สิ้นสุด
12/10/2566
เวลา
22:00
ทั้งวัน
สถานที่จัด
อาคารแผ่พืชน์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ภายในสถาบัน
ในประเทศ
ต่างประเทศ
หน่วยงานที่จัด
ผู้รับผิดชอบ
ผู้เข้าร่วม
หน่วยงานที่จัด
คณะ/สำนัก
คณะพัฒนาการท่องเที่ยว
สาขา/กอง
หน่วยงานภายใน
ชื่อหน่วยงาน
ผู้รับผิดชอบหลัก
น.ส.ณภาภัช เลี้ยงประยูร
คณะพัฒนาการท่องเที่ยว
สำนักงานคณบดีคณะพัฒนาการท่องเที่ยว
งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
ผู้รับผิดชอบหลัก (นักศึกษา)
6401101313
นาย
ชินกฤต
รักชาวไร่
:
พืชไร่
3ชั่วโมง
6401101359
นาย
อนุสรณ์
ทิมเปีย
:
พืชไร่
3ชั่วโมง
6401124306
นางสาว
วรรณษา
จิตรีพรต
:
เกษตรเคมี
3ชั่วโมง
6403103314
นาย
ธนกฤต
ใจบุญ
:
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
3ชั่วโมง
6406103303
นางสาว
เกณิกา
ปราศรัย
:
บัญชี
3ชั่วโมง
6406103320
นาย
ธนพล
วรรณแก้ว
:
บัญชี
3ชั่วโมง
6406103352
นางสาว
สุทธิดา
คนเที่ยง
:
บัญชี
3ชั่วโมง
6406103358
นางสาว
สุรีย์พร
ประสงค์สุข
:
บัญชี
3ชั่วโมง
6406103359
นางสาว
อดิศรินทร์
สรรพอุดมชัย
:
บัญชี
3ชั่วโมง
6406103361
นาย
อภิสิทธิ์
คิดอ่าน
:
บัญชี
3ชั่วโมง
6406103363
นางสาว
อัญชลี
แก้วกันยา
:
บัญชี
3ชั่วโมง
6412106323
นาย
จิรกิตติ์
คำแก้ว
:
เศรษฐศาสตร์เกษตรและสิ่งแวดล้อม
3ชั่วโมง
6412106325
นาย
ธีรโชติ
พุ่มแก้ว
:
เศรษฐศาสตร์เกษตรและสิ่งแวดล้อม
3ชั่วโมง
6412106329
นาย
เวชภิสิทธิ์
ปาสานัย
:
เศรษฐศาสตร์เกษตรและสิ่งแวดล้อม
3ชั่วโมง
6418102331
นางสาว
ทิพรัตน์
ติระสา
:
การสื่อสารดิจิทัล
3ชั่วโมง
6418102381
นางสาว
วชิรญาร์
บัวสมุย
:
การสื่อสารดิจิทัล
3ชั่วโมง
6601127018
นาย
ธีรวุฒิ
กุลนิธิรัตน์
:
พืชไร่
3ชั่วโมง
6601127033
นางสาว
ศศิวรรณ
เกตุวิจิตร
:
พืชไร่
3ชั่วโมง
6601127035
นาย
สมเกียรติ
ศรีสง่า
:
พืชไร่
3ชั่วโมง
6601127037
นาย
สุรชัย
แซ่เนี้ย
:
พืชไร่
3ชั่วโมง
6601127042
นาย
อลงกต
เกตุแสง
:
พืชไร่
3ชั่วโมง
6601127047
นาย
ธนภัทร
พันธ์เพชร
:
พืชไร่
3ชั่วโมง
6609101010
นาย
เจริญศักดิ์
ยศวงรังสรรค์
:
พัฒนาการท่องเที่ยว
3ชั่วโมง
6609101040
นางสาว
น้ำทิพย์
สุโพ
:
พัฒนาการท่องเที่ยว
3ชั่วโมง
6609101090
นางสาว
สิริวิมล
กันธะวัง
:
พัฒนาการท่องเที่ยว
3ชั่วโมง
6609101103
นางสาว
อรนุช
อินจักร
:
พัฒนาการท่องเที่ยว
3ชั่วโมง
6609101105
นางสาว
อัญชลี
สมศรี
:
พัฒนาการท่องเที่ยว
3ชั่วโมง
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว คณะพัฒนาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เน้นผลิตบัณฑิตให้เป็นผู้ประกอบการด้านธุรกิจท่องเที่ยวที่มีอัตลักษณ์ประกอบด้วยทักษะสำคัญทั้งหมด 13 ด้าน ตามนโยบายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ที่กำหนดให้หลักสูตรต่าง ๆ มีการจัดทำหลักสูตรให้เป็นไปตามหลักการ Outcome-Based Education (OBE) หลักสูตรฯ จึงมีการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับนโยบายดังกล่าวในแต่ละปี ซึ่งตลอดหลักสูตรฯ ได้วางเป้าหมายการเรียนรู้ของนักศึกษา 7 ข้อ ได้แก่ 1) เข้าใจศาสตร์ทางการท่องเที่ยวและบริการ หลักการจัดการ และจริยธรรมทางธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ 2) ประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านการจัดการธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ เพื่อสร้างสินค้าและบริการที่ตอบสนองต่อความต้องการของนักท่องเที่ยว 3) วิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางธุรกิจท่องเที่ยวและบริการเพื่อการตัดสินใจทางธุรกิจได้ 4) สามารถประเมินแนวโน้มของธุรกิจท่องเที่ยวและบริการในอนาคต 5) สร้างแผนธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ ที่มีจิตสำนึกต่อสิ่งแวดล้อมได้ 6) ทำงานอย่างสร้างสรรค์ มีจิตบริการ แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ และ 7) สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต (Life Long Learning)
หลักสูตรฯ ได้ออกแบบรายวิชาให้สอดคล้องกับ PLOs ดังกล่าวข้างต้นทั้ง 7 ข้อ และได้กำหนดเป้าหมายการเรียนรู้ของแต่ละชั้นปีที่มีความแตกต่างกัน ซึ่งในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 นี้ มีรายวิชาทีเกี่ยวข้อง 4 รายวิชา ได้แก่ ธท 240 ครัวอินทรีย์ ธท 331 การเป็นผู้ประกอบการในธุรกิจการท่องเที่ยวและการบริการ ธท 334 การดำเนินงานบริษัทนำเที่ยวและตัวแทนจัดจำหน่ายระหว่างประเทศ และ ธท 430 สัมมนาทางอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ โดยนักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรฯ มีได้กำหนดเป้าหมายให้นักศึกษาสามารถบูรณาการองค์ความรู้ และทักษะด้านการบริหารจัดการธุรกิจการท่องเที่ยว สู่การเป็นผู้ประกอบการมืออาชีพที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และประชากรโลกได้
ดังนั้น เพื่อให้นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สามารถพัฒนาตนเองได้สอดคล้องกับเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ หลักสูตรฯ จึงมีแนวคิดในการจัดโครงการพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ “Tobiz ธุรกิจจำลอง” เพื่อบูรณาการทั้ง 4 รายวิชา ออกแบบการเรียนการสอนให้นักศึกษาได้พัฒนากระบวนคิด การวางแผน และการทำงานเป็นทีม ภายใต้วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) และเรียนรู้ประสบการณ์ตรงจากมืออาชีพ ตามวัตถุประสงค์การจัดการเรียนการสอนตามแนวทาง Outcome-Based Education (OBE) เพื่อให้สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน วางแผนการประกอบธุรกิจจำลองในระยะสั้นที่เหมาะสมกับสถานการณ์ และฝึกปฏิบัติการขายสินค้า/บริการที่ออกแบบไว้ได้จริง ซึ่งจะเป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้นักศึกษาเรียนรู้ผ่านกระบวนการแสดงความคิด การวิเคราะห์ การปฏิบัติจริง และการประเมินผลจากการดำเนินธุรกิจจริง เพื่อเสริมสร้างทักษะและประสบการณ์ให้มีความพร้อมสำหรับการเป็นผู้ประกอบการด้านธุรกิจท่องเที่ยวต่อไป
ณภาภัช เลี้ยงประยูร
(ผู้บันทึกข้อมูล)
ข้อมูลวันที่ :
05/10/2566 13:32
รายละเอียดเพิ่มเติม
ตอนที่
1
รายละเอียด
ประเภท/ลักษณะงาน
ไม่ระบุ
เกี่ยวข้องกับกิจกรรม
ไม่ระบุ
ระดับ
ในสถาบัน
ปริมาณงานทั้งหมด
3
ชั่วโมง
วัน
เป้าหมายผู้เข้าร่วม
400
คน
จำนวนผู้เข้าร่วม
400
คน
ตอนที่
2
รายรับ-รายจ่าย
รายรับ
ไม่ระบุ
บาท
มูลค่ารายรับ
ไม่ระบุ
บาท
ค่าใช้จ่าย
ไม่ระบุ
บาท
มูลค่าค่าใช้จ่าย
ไม่ระบุ
บาท
ตอนที่
3
ผลการดำเนินงาน
ไม่ระบุ
ตอนที่
4
สอดคล้องสมรรถนะ
ประเภทสมรรถนะ
สมรรถนะหลักของมหาวิทยาลัย
สมรรถนะประจำกลุ่มงาน
สมรรถนะของผู้บริหาร
ตอนที่
5
เอกสารอ้างอิง
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่
6
ภายใต้โครงการ
การพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ “Tobiz ธุรกิจจำลอง”
ตอนที่
7
ภายใต้งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่
8
การบูรณาการ
ไม่มีข้อมูล