สืบสานวัฒนธรรมแฮกนาปลูกข้าว 15 ส.ค. 2566
-
วันที่เริ่มต้น 01/08/2566 เวลา 13:00 วันที่สิ้นสุด 31/08/2566 เวลา 16:30
สถานที่จัด แปลงพืชไร่ คณะผลิตกรรมการเกษตร 

หน่วยงานที่จัด ผู้รับผิดชอบ ผู้เข้าร่วม
หน่วยงานที่จัด
คณะ/สำนัก คณะผลิตกรรมการเกษตร สาขา/กอง หน่วยงานภายใน  
ผู้รับผิดชอบหลัก
ไม่มีข้อมูล

ผู้รับผิดชอบหลัก (นักศึกษา)
ไม่มีข้อมูล
ประชาชนชาวไทยมีอาชีพทางเกษตรกรรมมาแต่โบราณกาล อาหารที่สำคัญ คือ ข้าว เป็นทั้งแป้งและน้ำตาลเป็นอาหารหลักที่ขาดไม่ได้ ดังนั้นการผลิตข้าวจีงเป็นงานสำคัญ ในวิธีชีวิตของคนไทยทั้งมวล การแสวงหาเนื้อที่ปลูกข้าวโดยการหาแหล่งน้ำและเนื้อที่ราบเป้นที่ปลูกข้าวเรียกกันว่า"ทุ่งนา" จึงทำมาช้านาน เนื้อที่ส่วนใหญ่ซึ่งเป็นที่ราบของประเทศไว้สำหรับเป็นที่ปลูกข้าวมากมาย ประเพณีทางล้านนาที่ปฏิบัติกันสืบมา เช่น การแฮกนา ของชาวล้านนาไทยกับการแรกนาของภาคกลาง เป็นอันเดียวกันต่างและล้านนาประชาชนออกเสียงเป็นแฮกนา เป็นอย่างเดียวกับจรดพระนังคัล คือการไถนา หรือ พระราชพิธีแรกนาขวัญ คณะผลิตกรรมการเกษตรเป็นคณะที่มีการเรียนการสอนนักศึกษาในด้านการเกษตรมานานกว่า 45 ปี มีความมุ่งมั่นที่จะรักษาไว้ซึ่งความสำคัญของข้าวไม่ว่าจะในฐานะของอาหาร เครื่องมือทางวัฒนธรรม และการสานเชื่อมเครือข่ายทางสังคมให้เข้ามาเห็นและมีส่วนร่วมอย่างแนบแน่น จึงประสงค์จะจัดโครงการนี้เพื่อให้นักศึกษา บุคลากร และผู้สนใจ ได้นำเอาความรู้จากการเข้าร่วมโครงการ สำหรับนักศึกษาเป็นการได้รับความรู้จากนอกห้องเรียนมาบูรณาการด้วยการได้รู้จักการทำนาแบบธรรมชาติ และการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นจากปราชญ์ชาวบ้านที่มีอาชีพทำนามาตลอดชีวิต รวมไปถึง พิธีกรรมแฮกปลูกข้าวและแฮกนาเกี่ยวข้าวแบบล้านนา รวมถึงประเพณีลงแขกปลูกข้าว เป็นประเพณีที่แสดงให้เห็นถึงความมีน้ำใจของคนไทยที่มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน อีกทั้งยังสร้างความสมัครสมานสามัคคีกันในหมู่คณะ อันเป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งของผู้ที่ประกอบอาชีพทำนา โดยใช้อุบายให้มนุษย์สามารถอยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างเหมาะสมและสมดูล อันจะส่งผลต่อการรับรู้ที่ดีต่อการทำนาและอาชีพเกษตรกรของนักศีกษาต่อสังคม ชุมชน และประชาชนชาวบ้าน เพื่อให้เป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ สู่ Organic University Green และ Eco University ต่อไปในอนาคต ประเทศไทยของเราเป็นประเทศเกษตรกรรมที่เข้มแข็งยั่งยืนมานับตั้งแต่บรรพบุรุษ ดังนั้น การส่งเสริม อนุรักษ์อาชีพและศิลปวัฒนธรรม ประเพณีเกี่ยวกับการเกษตร จึงมีความสำคัญมากสำหรับคณะผลิตกรรมการเกษตร ที่มุ่งมั่นจะผลิตบัณฑิตให้มีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ ดี เก่ง และมีความสุข มีความเชี่ยวชาญในสาขาวิชา ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้อย่างสม่ำเสมอ
รายละเอียดเพิ่มเติม
ตอนที่ 1 รายละเอียด
ประเภท/ลักษณะงาน ไม่ระบุ
เกี่ยวข้องกับกิจกรรม ไม่ระบุ
ระดับ อื่นๆ
ปริมาณงานทั้งหมด 3  
เป้าหมายผู้เข้าร่วม 172 คน
จำนวนผู้เข้าร่วม   500 คน
ตอนที่ 2 รายรับ-รายจ่าย
รายรับ   ไม่ระบุ บาท
มูลค่ารายรับ   ไม่ระบุ บาท
ค่าใช้จ่าย ไม่ระบุ บาท
มูลค่าค่าใช้จ่าย   ไม่ระบุ บาท
ตอนที่ 3 ผลการดำเนินงาน
วันอังคารที่ 15 สิงหาคม 2566 จัดกิจกรรมแฮกนาปลูกข้าว ณ แปลงพืชไร่ คณะผลิตกรรมการเกษตร ประชาชนชาวไทยมีอาชีพทางเกษตรกรรมมาแต่โบราณกาล อาหารที่สำคัญ คือ ข้าว เป็นทั้งแป้งและน้ำตาลเป็นอาหารหลักที่ขาดไม่ได้ ดังนั้นการผลิตข้าวจีงเป็นงานสำคัญ ในวิธีชีวิตของคนไทยทั้งมวล การแสวงหาเนื้อที่ปลูกข้าวโดยการหาแหล่งน้ำและเนื้อที่ราบเป้นที่ปลูกข้าวเรียกกันว่า"ทุ่งนา" จึงทำมาช้านาน เนื้อที่ส่วนใหญ่ซึ่งเป็นที่ราบของประเทศไว้สำหรับเป็นที่ปลูกข้าวมากมาย ประเพณีทางล้านนาที่ปฏิบัติกันสืบมา เช่น การแฮกนา ของชาวล้านนาไทยกับการแรกนาของภาคกลาง เป็นอันเดียวกันต่างและล้านนาประชาชนออกเสียงเป็นแฮกนา เป็นอย่างเดียวกับจรดพระนังคัล คือการไถนา หรือ พระราชพิธีแรกนาขวัญ คณะผลิตกรรมการเกษตรเป็นคณะที่มีการเรียนการสอนนักศึกษาในด้านการเกษตรมานานกว่า 45 ปี มีความมุ่งมั่นที่จะรักษาไว้ซึ่งความสำคัญของข้าวไม่ว่าจะในฐานะของอาหาร เครื่องมือทางวัฒนธรรม และการสานเชื่อมเครือข่ายทางสังคมให้เข้ามาเห็นและมีส่วนร่วมอย่างแนบแน่น จึงประสงค์จะจัดโครงการนี้เพื่อให้นักศึกษา บุคลากร และผู้สนใจ ได้นำเอาความรู้จากการเข้าร่วมโครงการ สำหรับนักศึกษาเป็นการได้รับความรู้จากนอกห้องเรียนมาบูรณาการด้วยการได้รู้จักการทำนาแบบธรรมชาติ และการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นจากปราชญ์ชาวบ้านที่มีอาชีพทำนามาตลอดชีวิต รวมไปถึง พิธีกรรมแฮกปลูกข้าวและแฮกนาเกี่ยวข้าวแบบล้านนา รวมถึงประเพณีลงแขกปลูกข้าว เป็นประเพณีที่แสดงให้เห็นถึงความมีน้ำใจของคนไทยที่มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน อีกทั้งยังสร้างความสมัครสมานสามัคคีกันในหมู่คณะ อันเป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งของผู้ที่ประกอบอาชีพทำนา โดยใช้อุบายให้มนุษย์สามารถอยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างเหมาะสมและสมดูล อันจะส่งผลต่อการรับรู้ที่ดีต่อการทำนาและอาชีพเกษตรกรของนักศีกษาต่อสังคม ชุมชน และประชาชนชาวบ้าน เพื่อให้เป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ สู่ Organic University Green และ Eco University ต่อไปในอนาคต ประเทศไทยของเราเป็นประเทศเกษตรกรรมที่เข้มแข็งยั่งยืนมานับตั้งแต่บรรพบุรุษ ดังนั้น การส่งเสริม อนุรักษ์อาชีพและศิลปวัฒนธรรม ประเพณีเกี่ยวกับการเกษตร จึงมีความสำคัญมากสำหรับคณะผลิตกรรมการเกษตร ที่มุ่งมั่นจะผลิตบัณฑิตให้มีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ ดี เก่ง และมีความสุข มีความเชี่ยวชาญในสาขาวิชา ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้อย่างสม่ำเสมอ
ตอนที่ 4 สอดคล้องสมรรถนะ
ประเภทสมรรถนะ
ตอนที่ 5 เอกสารอ้างอิง
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 6 ภายใต้โครงการ
ตอนที่ 7 ภายใต้งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 8 การบูรณาการ
ไม่มีข้อมูล