โครงการฝึกอบรมสมรรถนะวิชาชีพด้านการท่องเที่ยว (ภาษาอังกฤษ) สู่การเป็นนักสื่อความหมายในแหล่งท่องเที่ยวระดับนานาชาติด้วยการประยุกต์ใช้มรดกภูมิปัญญาด้านสมุนไพรและพืชพื้นถิ่น

วันที่เริ่มต้น 02/03/2563 เวลา 0:00 วันที่สิ้นสุด 30/09/2563 เวลา 0:00
สถานที่จัด ไม่ระบุ 

หน่วยงานที่จัด ผู้รับผิดชอบ ผู้เข้าร่วม
หน่วยงานที่จัด
คณะ/สำนัก คณะพัฒนาการท่องเที่ยว สาขา/กอง หน่วยงานภายใน  
ผู้รับผิดชอบหลัก
ไม่มีข้อมูล

ผู้รับผิดชอบหลัก (นักศึกษา)
ไม่มีข้อมูล
นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลเพื่อขับเคลื่อนประเทศสู่ความมั่นคง มั่งคั่งและยังยืน โดยต้องการปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจไปสู่ Value Based Economy โดยต้องมีการขับเคลื่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างน้อยใน 3 มิติสำคัญ คือ 1) เปลี่ยนจากการผลิตสินค้า “โภคภัณฑ์” ไปสู่สินค้าเชิง “นวัตกรรม” 2) เปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศด้วยภาคอุตสาหกรรม ไปสู่การขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม 3) เปลี่ยนจากการเน้นภาคการผลิตสินค้า ไปสู่การเน้นภาคบริการมากขึ้น รวมถึงการมุ่งเป้าเพื่อยกระดับฐานเศรษฐกิจสร้างสรรค์มูลค่าสูงเพื่อให้เกิดการพัฒนาการท่องเที่ยวให้มีคุณภาพ ยั่งยืน และมีธุรกิจบริการต่อเนื่องบริการสุขภาพตลอดจนผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ และมีมูลค่าสูง
คณะผลิตกรรมการเกษตร คณะพัฒนาการท่องเที่ยว และ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เล็งเห็นว่าการจะตอบสนองนโยบายภาครัฐเพื่อยกระดับการผลิตอาหารที่มีมูลค่าสูงและสินค้าสมุนไพรเชิงสุขภาพและเชื่อมโยงการการท่องเที่ยวสู่ให้การเป็นแหล่งท่องเที่ยวคุณค่าสูงนั้นจำเป็นต้องอาศัยปัจจัยหลายปัจจัยหนึ่งที่เป็นปัจจัยใกล้ตัวที่สามารถพบได้ในท้องถิ่น คือ วิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นในการรักษาสุขภาพและวัฒนาธรรมการบริโภคพืชสมุนไพรและพืชพื้นถิ่น ผักท้องถิ่นที่มีคุณสมบัติในการป้องรักษาโรคตลอดจนมีองค์ประกอบของพฤกษเคมีที่สามารถนำไปใช้ทั้งเพื่อการบริโภคเพื่อเป็นอาหาร สร้างสรรค์เป็นผลิตภัณฑ์ทางยา เมื่อนำองค์ความรู้ดังกล่าวไปผนวกกับองค์ความรู้และเทคโนโลยีการผลิตที่ปลอดภัยและมีคุณภาพสูงร่วมกับการออกแบบบริการเชิงสร้างสรรค์ นับเป็นจุดร่วมระหว่างวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม วิถีชีวิตความเป็นอยู่ ความเป็นเอกลักษณ์ ความยั่งยืน และประสบการณ์ เมื่อศาสตร์ทั้งเกษตร วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมได้หลอมรวมกันย่อมเป็นการนำไปสู่การยกระดับการท่องเที่ยวสู่การเป็นแหล่งท่องเที่ยวคุณค่าสูงก็จะเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม
ดังนั้นโครงการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวมุ่งสู่การเป็นแหล่งท่องเที่ยวคุณค่าสูง (High Value Destination) ด้วยการจัดการมรดกภูมิปัญญาด้านสมุนไพรและพืชท้องถิ่นจะเป็นโครงการที่จะผลักดันยุทธศาสตร์และนโยบายที่กล่าวมาข้างต้นทั้งมิติของการสร้างนวัตกรรมบริการ การนำความคิดสร้างสรรค์มาต่อยอด และการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ รวมไปถึงการสร้างอาชีพและเพิ่มรายได้ให้ทั้งเกษตรกร ผู้ประกอบการ และประเทศชาติต่อไป
รายละเอียดเพิ่มเติม
ตอนที่ 1 รายละเอียด
ประเภท/ลักษณะงาน ไม่ระบุ
เกี่ยวข้องกับกิจกรรม ไม่ระบุ
ระดับ อื่นๆ
ปริมาณงานทั้งหมด 72  
เป้าหมายผู้เข้าร่วม 695 คน
จำนวนผู้เข้าร่วม   ไม่ระบุ คน
ตอนที่ 2 รายรับ-รายจ่าย
รายรับ   ไม่ระบุ บาท
มูลค่ารายรับ   ไม่ระบุ บาท
ค่าใช้จ่าย ไม่ระบุ บาท
มูลค่าค่าใช้จ่าย   ไม่ระบุ บาท
ตอนที่ 3 ผลการดำเนินงาน
ไม่ระบุ
ตอนที่ 4 สอดคล้องสมรรถนะ
ประเภทสมรรถนะ
ตอนที่ 5 เอกสารอ้างอิง
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 6 ภายใต้โครงการ
ตอนที่ 7 ภายใต้งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 8 การบูรณาการ
ไม่มีข้อมูล