เมนู
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Maejo University
ติดต่อ
บุคลากร (เข้าสู่ระบบ)
หน้าหลัก
บุคลากร
พัฒนาบุคลากรและกิจกรรม
โครงการเศรษฐศาสตร์ขยะเหลือศูนย์
Econ Zero Waste
วันที่เริ่มต้น
13/08/2562
เวลา
0:00
วันที่สิ้นสุด
30/09/2562
เวลา
0:00
ทั้งวัน
สถานที่จัด
ไม่ระบุ
ภายในสถาบัน
ในประเทศ
ต่างประเทศ
หน่วยงานที่จัด
ผู้รับผิดชอบ
ผู้เข้าร่วม
หน่วยงานที่จัด
คณะ/สำนัก
คณะเศรษฐศาสตร์
สาขา/กอง
หน่วยงานภายใน
ชื่อหน่วยงาน
ผู้รับผิดชอบหลัก
ไม่มีข้อมูล
ผู้รับผิดชอบหลัก (นักศึกษา)
6012102319
นาย
ชาญณรงค์
แสนริน
:
เศรษฐศาสตร์สหกรณ์
3ชั่วโมง
6012102323
นาย
ณัฐนนท์
สายชลศรีจินดา
:
เศรษฐศาสตร์สหกรณ์
3ชั่วโมง
6012102332
นาย
ทัศธนะ
ศิริ
:
เศรษฐศาสตร์สหกรณ์
3ชั่วโมง
6012102333
นาย
เทียนชัย
กันยา
:
เศรษฐศาสตร์สหกรณ์
3ชั่วโมง
6012102338
นาย
ธิติ
บุรีแก้ว
:
เศรษฐศาสตร์สหกรณ์
3ชั่วโมง
6012102339
นาย
ธีรพงศ์
ชมภูจี๋
:
เศรษฐศาสตร์สหกรณ์
3ชั่วโมง
6012102345
นาย
ปฏิภาณ
หัตถกรรม
:
เศรษฐศาสตร์สหกรณ์
3ชั่วโมง
6012102351
นาย
พศวัต
คาดชะดาคำ
:
เศรษฐศาสตร์สหกรณ์
3ชั่วโมง
6012102358
นาย
ภาณุวัฒน์
วงศ์ศรีธาตุ
:
เศรษฐศาสตร์สหกรณ์
3ชั่วโมง
6012102361
นาย
โภคิน
วันใส
:
เศรษฐศาสตร์สหกรณ์
3ชั่วโมง
6012102380
นาย
ศุภณัฐ
ศรีจันทร์
:
เศรษฐศาสตร์สหกรณ์
3ชั่วโมง
6012102386
นาย
สุทธิพงษ์
อินต๊ะสุข
:
เศรษฐศาสตร์สหกรณ์
3ชั่วโมง
6212102304
นางสาว
จารุวรรณ
เอี่ยมแจ่ม
:
เศรษฐศาสตร์สหกรณ์
3ชั่วโมง
6212102313
นางสาว
ธนิดา
เดชะบุญ
:
เศรษฐศาสตร์สหกรณ์
3ชั่วโมง
6212102314
นางสาว
ธัญญากานต์
อุปปชัย
:
เศรษฐศาสตร์สหกรณ์
3ชั่วโมง
6212102315
นางสาว
นฤมล
คำสะอาด
:
เศรษฐศาสตร์สหกรณ์
3ชั่วโมง
6212102320
นาย
พัสกร
คุ้มเมฆ
:
เศรษฐศาสตร์สหกรณ์
3ชั่วโมง
6212102323
นาย
เพ็ชรแท้
อำไพร
:
เศรษฐศาสตร์สหกรณ์
3ชั่วโมง
6212102325
นางสาว
ภูริชยา
ดวงปัน
:
เศรษฐศาสตร์สหกรณ์
3ชั่วโมง
6212102338
นาย
โชติวิทย์
คุ้มสว่าง
:
เศรษฐศาสตร์สหกรณ์
3ชั่วโมง
6212102343
นาย
พิสิษฐ์
สะมาสุข
:
เศรษฐศาสตร์สหกรณ์
3ชั่วโมง
6212102346
นาย
วิจารณ์
แซ่เฒ่า
:
เศรษฐศาสตร์สหกรณ์
3ชั่วโมง
จากการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะมูลฝอยทั่วประเทศ ปีงบประมาณ 2561 ประมาณ 27.8 ล้านตัน มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทุกปีเนื่องจากการขยายตัวของชุมชนเมือง และการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตจากสังคมเกษตรกรรมสู่สังคมเมือง การเพิ่มขึ้นของประชากร การส่งเสริมการท่องเที่ยว การบริโภคที่เพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ปริมาณขยะมูลฝอยในหลายพื้นที่เพิ่มมากขึ้น แม้ว่าปริมาณขยะมูลฝอยจะเพิ่มขึ้น แต่การจัดการขยะมูลฝอยในปี 2561 มีแนวโน้มดีขึ้น ขยะมูลฝอยชุมชนได้ถูกคัดแยก ณ ต้นทาง และนำกลับไปใช้ประโยชน์ 9.58 ล้านตัน (ร้อยละ 34) เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 13 ส่วนใหญ่เป็นการใช้ประโยชน์จากขยะรีไซเคิลและทำปุ๋ยอินทรีย์ ขยะมูลฝอยชุมชนอีกจำนวน 10.88 ล้านตัน (ร้อยละ 39) ถูกกำจัดอย่างถูกต้อง ส่วนที่เหลือเป็นขยะที่ถูกกำจัดอย่างไม่ถูกต้องประมาณ 7.36 ล้านตัน (ร้อยละ 27) แนวโน้มการจัดการจยะที่ดีขึ้นเป็นผลมาจากนโบายของรัฐบาลที่มู่งสู่การเป็นสังคมปลอดขยะ (Zero Waste Society) บนแนวคิด 3R ประชารัฐมุ่งเน้นการจัดการขยะมูลฝอย ณ ต้นทาง โดยการมีส่วนร่วมของภาครัฐและประชาชน(รายงานสรุปสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปี 2561 : สถานการณ์ขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย หน้า 36)
จากปัญหาขยะมูลฝอยของประเทศ รัฐบาลได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาการจัดการขยะมูลฝอย และได้ประกาศให้การจัดการขยะเป็นวาระแห่งชาติ และได้กำหนด Road Map การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย เพื่อให้เกิดการดำเนินงานในทิศทางเดียวกันและหนุนเสริมการดำเนินงานซึ่งกันและกัน ประกอบด้วย 4 กิจกรรม ได้แก่ 1) เร่งการจัดการขยะมูลฝอยสะสมในสถานที่กำจัดขยะพื้นที่วิกฤติ 2) ให้มีรูปแบบที่เหมาะสมเพื่อจัดการกับขยะที่เข้ามาใหม่ โดยเน้นการคัดแยกขยะ ตั้งแต่ต้นทางและแปรรูปพลังงานจากขยะ 3) จัดระเบียบมาตรการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย 4) การสร้างวินัยของคนในชาติมุ่งสู่การจัดการที่ยั่งยืน และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้จัดทำแผนแม่บทการบริหาร จัดการขยะมูลฝอยของประเทศ (พ.ศ. 2559 – 2564) ซึ่งเป็นกรอบและทิศทางการดำเนินการแก้ไขปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายของประเทศ ได้กำหนดแนวทางการปฏิบัติ 5 ด้าน ได้แก่ 1) การลดปริมาณขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย 2) เพิ่มศักยภาพการจัดเก็บและขนส่งขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย 3) เพิ่มศักยภาพการกำจัดและการใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย 4) พัฒนาและปรับปรุง กฎหมาย ระเบียบ หลักเกณฑ์ ในการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย 5) สนับสนุนการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย
เพื่อขับเคลื่อนการดําเนินการสร้างวินัยในการจัดการขยะ คณะเศรษฐศาสตร์ จึงจัดทำโครงเศรษฐศาสตร์ขยะเหลือศูนย์ (Econ Zero Waste) ปี 2562 ขึ้น เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความร่วมมือและการมีส่วนร่วมของบุคลากรของคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในการดำเนินงานด้านการจัดการขยะมูลฝอยแบบครบวงจร โดยนำแนวคิด “Zero Waste” หรือ “การจัดการขยะเหลือศูนย์” ตามหลัก 1A3Rs คือ Avoid หลีกเลี่ยงการใช้วัสดุที่ก่อให้เกิดขยะที่ยากต่อการกำจัด Reduce ลดการซื้อ การใช้วัสดุที่ก่อให้เกิดขยะ Reuse การนำวัสดุที่ผ่านการใช้งานแล้วนำกลับมาใช้งานใหม่ และ Recycle การนำวัสดุเหลือใช้มาแปรรูปเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ ส่งเสริมให้บุคลากรมีการจัดการขยะจากต้นทางแหล่งกำเนิดขยะ การจัดการกลางทางโดยผ่านระบบการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และการจัดการปลายทางคือการกำจัดที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ
นัฐพล คำซอน
(ผู้บันทึกข้อมูล)
ข้อมูลวันที่ :
03/10/2562 17:30
รายละเอียดเพิ่มเติม
ตอนที่
1
รายละเอียด
ประเภท/ลักษณะงาน
ไม่ระบุ
เกี่ยวข้องกับกิจกรรม
ไม่ระบุ
ระดับ
อื่นๆ
ปริมาณงานทั้งหมด
3
ชั่วโมง
วัน
เป้าหมายผู้เข้าร่วม
347
คน
จำนวนผู้เข้าร่วม
ไม่ระบุ
คน
ตอนที่
2
รายรับ-รายจ่าย
รายรับ
ไม่ระบุ
บาท
มูลค่ารายรับ
ไม่ระบุ
บาท
ค่าใช้จ่าย
ไม่ระบุ
บาท
มูลค่าค่าใช้จ่าย
ไม่ระบุ
บาท
ตอนที่
3
ผลการดำเนินงาน
ไม่ระบุ
ตอนที่
4
สอดคล้องสมรรถนะ
ประเภทสมรรถนะ
สมรรถนะหลักของมหาวิทยาลัย
สมรรถนะประจำกลุ่มงาน
สมรรถนะของผู้บริหาร
ตอนที่
5
เอกสารอ้างอิง
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่
6
ภายใต้โครงการ
โครงการเศรษฐศาสตร์ขยะเหลือศูนย์
ตอนที่
7
ภายใต้งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่
8
การบูรณาการ
ไม่มีข้อมูล