เมนู
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Maejo University
ติดต่อ
บุคลากร (เข้าสู่ระบบ)
หน้าหลัก
บุคลากร
พัฒนาบุคลากรและกิจกรรม
โครงการสัมมนา เรื่อง “ ธุรกิจร้านเบเกอรี่ : เส้นทางบินของผึ้งน้อย ในยุค 4.0 ”
-
วันที่เริ่มต้น
11/09/2562
เวลา
9:00
วันที่สิ้นสุด
11/09/2562
เวลา
12:00
ทั้งวัน
สถานที่จัด
ณ ห้องประชุมพยัคฆ์เมฆินทร์ (ชั้น2) คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่
ภายในสถาบัน
ในประเทศ
ต่างประเทศ
หน่วยงานที่จัด
ผู้รับผิดชอบ
ผู้เข้าร่วม
หน่วยงานที่จัด
คณะ/สำนัก
คณะบริหารธุรกิจ
สาขา/กอง
หน่วยงานภายใน
ชื่อหน่วยงาน
ผู้รับผิดชอบหลัก
ไม่มีข้อมูล
ผู้รับผิดชอบหลัก (นักศึกษา)
5906102335
นางสาว
จิราภรณ์
แซ่อึ้ง
:
การตลาด
5ชั่วโมง
5906102352
นาย
ชลสิทธิ์
เสริญสมบูรณ์
:
การตลาด
5ชั่วโมง
5906102359
นางสาว
รัตนากร
ทัศนปัญญา
:
การตลาด
5ชั่วโมง
5906102420
นางสาว
เบญจมาศ
สมณา
:
การตลาด
5ชั่วโมง
5906102498
นางสาว
วิภาวินี
ทองปลี
:
การตลาด
5ชั่วโมง
5906102499
นาย
วิษณุกร
สายเครื่อง
:
การตลาด
5ชั่วโมง
5906102515
นาย
ศิวกรณ์
จิโน
:
การตลาด
5ชั่วโมง
5906102531
นาย
สาริน
ลีวัฒนตระกูล
:
การตลาด
5ชั่วโมง
5906102532
นาย
สิทธิศักดิ์
สุขกมล
:
การตลาด
5ชั่วโมง
5906102556
นางสาว
อัจฉริยะพร
คำชมภู
:
การตลาด
5ชั่วโมง
โครงการสัมมนา
เรื่อง “ธุรกิจร้านเบเกอรี่ :เส้นทางบินของผึ้งน้อย ในยุค 4.0”
วันพุธที่ 11 กันยายน 2562
ณ ห้องประชุมพยัคฆ์เมฆินทร์ (ชั้น 2) คณะบริหารธุรกิจ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่
--------------------------------------
หลักและเหตุผล
ธุรกิจร้านเบเกอรี่เป็นธุรกิจที่มีทั้งการขายสินค้าและบริการไปพร้อมๆกัน ซึ่งเป็นอีกหนึ่งประเภทธุรกิจที่ได้รับความนิยมสูง ผู้ประกอบการมักชอบลงทุนเนื่องจากเป็นธุรกิจที่เปิดได้ง่ายแต่ประสบความสำเร็จได้
ยาก โดยเฉพาะในภาวะที่เศรษฐกิจมีต้นทุนวัตถุดิบที่ใช้ในการทำเบเกอรี่โดยตรงสูงขึ้น ซึ่งหากต้องเริ่มต้นในธุรกิจร้านเบเกอรี่ผู้ประกอบการต้องศึกษาข้อมูลเรียนรู้กลยุทธ์ต่างๆก่อนเปิดกิจการ ในส่วนของเงินลงทุน
นั้นขึ้นอยู่กับขนาดของกิจการ โดยส่วนใหญ่จะเริ่มจากกิจการขนาดเล็กก่อนเพื่อหาประสบการณ์แล้วค่อยขยายกิจการให้ใหญ่ขึ้นตามลำดับ
ธุรกิจร้านเบเกอรี่นั้นจะขายดีหรือไม่ ขึ้นอยู่กับกระแสความต้องการของลูกค้าเป็นส่วนสำคัญของการทำธุรกิจร้านเบเกอรี่นั้น ผู้ประกอบการจะต้องทำการสำรวจเพื่อให้พบกับความต้องการที่แท้จริงของลูกค้า
แต่สิ่งสำคัญที่สุด คือ “จุดเด่น” เพื่อสร้างความแตกต่างจากร้านอื่นๆ อาจจะมาจากการพัฒนาสูตรขนม ซึ่งสูตรอาหารที่พัฒนาขึ้นมานั้นจะประสบความสำเร็จหรือไม่ ต้องอาศัยเวลาเป็นเครื่องพิสูจน์แต่ถึงอย่างไร
มาตรฐานที่ถูกต้องก็เป็นสิ่งจำเป็นที่สุดสำหรับการประกอบธุรกิจร้านเบเกอรี่ เพราะเหตุนี้คนที่จะเปิดร้านเบเกอรี่จึงต้องมีการสำรวจ เพื่อรู้ว่าตัวเองจะขายขนมประเภทไหน
ด้วยปัญหาดังกล่าวข้างต้น นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ สาขาการตลาด จึงเห็นความสำคัญและตระหนักในปัญหาที่เกิดขึ้น จึงจัดโครงการสัมมนานี้เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างความสนใจในด้านการเปิดธุรกิจร้านเบ
เกอรี่ให้กับนักศึกษา รวมทั้งการสร้างเอกลักษณ์และการปรับตัวของธุรกิจในยุคสมัยที่เปลี่ยนไป
วัตถุประสงค์ในการจัดงานสัมมนา
1. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในการสร้างแบรนด์ ผึ้งน้อยเบเกอรี่ ให้เป็นที่รู้จัก และสามารถครองใจผู้บริโภคได้อย่างยาวนาน
2. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวการสร้างกลยุทธ์การตลาดของธุรกิจ ผึ้งน้อยเบเกอรี่
3. เพื่อเพิ่มความรู้ในเรื่องการปรับตัวในยุค 4.0 ของธุรกิจ ผึ้งน้อยเบเกอรี่
4. เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับกลยุทธ์การตลาด การปรับตัวของธุรกิจในสภาพแวดล้อมภายนอกที่เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย
ระยะเวลาและสถานที่
วันพุธที่ 11 กันยายน พ.ศ 2562 เวลา 10:00 – 12:00 น. ณ สถานที่ : ณ ห้องพยัคเมฆินทร์ (ชั้น 2) คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จ.เชียงใหม่
ผู้รับผิดชอบโครงการ
นักศึกษาสาขาการตลาด คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ผู้เข้าร่วมโครงการ
- นักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ชั้นทุกชั้นปี จำนวน 200 คน
- อาจารย์คณะบริหารธุรกิจ สาขาการตลาด
ประโยชน์ที่คาดหวัง
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจในการสร้างแบรนด์ ผึ้งน้อยเบเกอรี่ ให้เป็นที่รู้จักและสามารถครองใจผู้บริโภคได้อย่างยาวนาน
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวการสร้างกลยุทธ์การตลาดของธุรกิจ ผึ้งน้อยเบเกอรี่
3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมได้เพิ่มความรู้ในเรื่องการปรับตัวในยุค 4.0 ของธุรกิจ ผึ้งน้อยเบเกอรี่
4. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับกลยุทธ์การตลาด การปรับตัวของธุรกิจในสภาพแวดล้อมภายนอกที่เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย
วชิรพงษ์ จันหนองฮี
(ผู้บันทึกข้อมูล)
ข้อมูลวันที่ :
11/09/2562 9:21
รายละเอียดเพิ่มเติม
ตอนที่
1
รายละเอียด
ประเภท/ลักษณะงาน
ไม่ระบุ
เกี่ยวข้องกับกิจกรรม
ไม่ระบุ
ระดับ
ในสถาบัน
ปริมาณงานทั้งหมด
3
ชั่วโมง
วัน
เป้าหมายผู้เข้าร่วม
200
คน
จำนวนผู้เข้าร่วม
200
คน
ตอนที่
2
รายรับ-รายจ่าย
รายรับ
บาท
มูลค่ารายรับ
บาท
ค่าใช้จ่าย
บาท
มูลค่าค่าใช้จ่าย
บาท
ตอนที่
3
ผลการดำเนินงาน
ไม่ระบุ
ตอนที่
4
สอดคล้องสมรรถนะ
ประเภทสมรรถนะ
สมรรถนะหลักของมหาวิทยาลัย
สมรรถนะประจำกลุ่มงาน
สมรรถนะของผู้บริหาร
ตอนที่
5
เอกสารอ้างอิง
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่
6
ภายใต้โครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่
7
ภายใต้งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่
8
การบูรณาการ
ไม่มีข้อมูล