โครงการการบูรณาการการบริหารจัดการขยะภายในท้องถิ่นอย่างมีส่วนร่วมฯ (การทำปุ๋ยหมักแบบไม่พลิกกอง)

วันที่เริ่มต้น 17/10/2560 เวลา 0:00 วันที่สิ้นสุด 30/09/2561 เวลา 0:00
สถานที่จัด ไม่ระบุ 

หน่วยงานที่จัด ผู้รับผิดชอบ ผู้เข้าร่วม
หน่วยงานที่จัด
คณะ/สำนัก คณะเศรษฐศาสตร์ สาขา/กอง หน่วยงานภายใน  
ผู้รับผิดชอบหลัก
ไม่มีข้อมูล

ผู้รับผิดชอบหลัก (นักศึกษา)
ไม่มีข้อมูล
แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 มีเป้าประสงค์หนึ่งที่มุ่งดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มีความอุดมสมบูรณ์น่าอยู่ ปราศจากมลพิษทางสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้เพื่อให้มีความสวยงาม เหมาะสมต่อการเป็นเมืองท่องเที่ยว อย่างจังหวัดเชียงใหม่ โดยมีตัวชี้วัดเช่น จำนวนพื้นที่หรือชุมชน/เครือข่ายชุมชน ที่มีความโดดเด่นอย่างชัดเจนในด้านความอุดมสมบูรณ์น่าอยู่ปราศจากมลพิษ โดยมีการใช้ทุนทางสังคมและโดยชุมชนมีส่วนร่วมในทุกระดับ รวมถึงการยกระดับคุณภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
ถึงแม้เมืองเชียงใหม่ จะได้ชื่อว่าเป็นเมืองแห่งการท่องเที่ยวที่สวยงามทั้งสภาพแวดล้อมและวัฒนธรรม แต่ปัญหาขยะ ถือเป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของเมืองเชียงใหม่ ในฐานะเมืองท่องเที่ยว ที่ทำให้เมืองมีสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม รวมถึงส่งผลต่อสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของคนเชียงใหม่เป็นอย่างมาก ปัจจุบันพบว่าจังหวัดเชียงใหม่มีปริมาณการผลิตขยะเฉลี่ย 1,658.89 ตัน/วัน หรือเฉลี่ย 605,351.16 ตัน/ปี และที่สำคัญคือมีปริมาณขยะสะสมในปัจจุบันกว่า 42,978.96 ตัน ซึ่งปริมาณการผลิตขยะจะเพิ่มขึ้นหลายเท่าตัว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงเทศกาลท่องเที่ยว ทำให้ยากต่อการบริหารจัดการ และเกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมตามมาอย่างมากมาย ซึ่งการแก้ไขปัญหาดังกล่าวนั้นได้มีการดำเนินการแก้ไขมาอย่างต่อเนื่องและยาวนาน แต่พบว่าปัญหาดังกล่าวก็ยังไม่ได้รับการแก้ไขอย่างยั่งยืน การแก้ไขปัญหาขยะให้เกิดความยั่งยืน จะต้องเกิดจากภายในชุมชน โดยมีการสนับสนุนจากภายนอกไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ และภาคการศึกษา ที่จะนำมาซึ่งหลักเกณฑ์/วิธีการ กระบวนการ และเทคโนโลยี มาใช้ในการแก้ไขปัญหา หลักการ “Green Heart: Smart Village” เป็นแนวคิดที่อาศัยการบูรณาการร่วมกันของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในชุมชนและพื้นที่แวดล้อม ที่จะช่วยในการสร้างจิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อมให้เกิดขึ้นแก่คนในชุมชน นำมาซึ่งคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ที่ดี และนำไปสู่เมืองเชียงใหม่ที่สะอาดและปลอดภัยต่อการอยู่อาศัยและท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
รายละเอียดเพิ่มเติม
ตอนที่ 1 รายละเอียด
ประเภท/ลักษณะงาน ไม่ระบุ
เกี่ยวข้องกับกิจกรรม ไม่ระบุ
ระดับ อื่นๆ
ปริมาณงานทั้งหมด 3  
เป้าหมายผู้เข้าร่วม 1250 คน
จำนวนผู้เข้าร่วม   ไม่ระบุ คน
ตอนที่ 2 รายรับ-รายจ่าย
รายรับ   ไม่ระบุ บาท
มูลค่ารายรับ   ไม่ระบุ บาท
ค่าใช้จ่าย ไม่ระบุ บาท
มูลค่าค่าใช้จ่าย   ไม่ระบุ บาท
ตอนที่ 3 ผลการดำเนินงาน
ไม่ระบุ
ตอนที่ 4 สอดคล้องสมรรถนะ
ประเภทสมรรถนะ
ตอนที่ 5 เอกสารอ้างอิง
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 6 ภายใต้โครงการ
ตอนที่ 7 ภายใต้งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 8 การบูรณาการ
ไม่มีข้อมูล