Active Learning เพื่อส่งเสริมสมรรถนะอาจารย์ตามกรอบมาตรฐาน Thailand PSF
วันที่เขียน 5/9/2567 16:39:58     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/10/2567 3:42:14
เปิดอ่าน: 287 ครั้ง

Thailand PSF (Professional Standard Framework) กรอบมาตรฐานวิชาชีพอาจารย์ตามแนวทางพัฒนาคุณภาพอาจารย์เพื่อส่งเสริมการบรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2566

ความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมการอบรม  โครงการเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนแบบ Active Learning ในระหว่างวันที่ 8 - 9 สิงหาคม 2567 เวลา 09.00 – 16.00 น. ณ โรงแรม Wintree City Resort Chiang Mai จังหวัดเชียงใหม่ จัดโดยสำนักบริหารและพัฒนาวิชาการ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

โดย วิทยากร รศ.ดร.ธนิตา เลิศพรกุลรัตน์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Agenda

  • Professional Standards Framework (PSF)
  • Engagement in learning
  • Important skill in teaching
  • Fun theory (Gamification/Game-based learing)
  • Example of active learning activities
  • Assessment & Feedback
  • Research

 วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมสมรรถนะอาจารย์ตามกรอบมาตรฐาน Thailand PSF

Thailand PSF (Professional Standard Framework) กรอบมาตรฐานวิชาชีพอาจารย์ตามแนวทางพัฒนาคุณภาพอาจารย์เพื่อส่งเสริมการบรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2566

คุณภาพอาจารย์ ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ดังนี้

  1. ความรู้ (Knowledge) มี 2 องค์ประกอบย่อยคือ

1.1 ความรู้ในศาสตร์สาขาวิชาของตน

1.2 ความรู้ในศาสตร์การสอนและการเรียนรู้

  1. สมรรถนะ (Competencies) มี 4 องค์ประกอบย่อยคือ

2.1 ออกแบบและวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพ

2.2 ดำเนินกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิผล

2.3 เสริมสร้างบรรยากาศการเรียนรู้และสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน

2.4 วัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน พร้อมทั้งสามารถให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างสร้างสรรค์

  1. ค่านิยม (Values) มี 2 องค์ประกอบย่อยคือ

3.1 คุณค่าในการพัฒนาวิชาชีพอาจารย์ และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง

3.2 ธำรงไว้ซึ่งจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพอาจารย์

 

  • Engagement in learning

5 แอปพลิเคชัน ได้แก่

  1. Mentimeter
  2. EdPuzzle
  3. Padlet
  4. Booklet
  5. Quizizz สำหรับทดสอบแบบเดี่ยว/และแบบกลุ่ม

 

  • Important skill in teaching
  • Interpersonal skills
  • Teaching skills & Assessment skills
  • Digital skills

 

  • Fun theory (Gamification/Game-based learing)

Game-based learning การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นสื่อกลาง

ตัวอย่าง

Gamification การนำกลไกการเล่นเกมมาใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้

การนำ Gamification มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ จะช่วยเพิ่ม ความสนุก การมีส่วนร่วม ความท้าท้าย (Engagement/Motivation) ของผู้เรียนได้

 

Constructive Feedback (เครื่องมือเสริมสร้างความสำเร็จในการสอน)

โดย วิทยากร อาจารย์ ดร.รณยุทธ เอื้อไตรรัตน์ สำนักนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

การพัฒนา Interpersonal Skills

  • ความคิด
  • ภาษา
  • น้ำเสียง
  • ท่าทาง

ขั้นตอนที่ 1 รู้เท่าเสียงในหัว

เหตุการณ์

Fixed Mindset

Growth Mindset

เจอความท้าทาย

พยายามหลีกเลี่ยงเพราะกลัวล้มเหลว มีความคิดว่าคนที่เก่งจะต้องไม่ล้มเหลว

ไม่เป็นไร อันนี้เรายังไม่รู้ แต่พร้อมที่จะเรียนรู้เพิ่มเติม

อุปสรรค

ล้มเลิกได้ง่าย

เป็นเรื่องธรรมดาและสู้ต่อไป

ความพยายาม

ความพยายามที่ทุ่มเทไป คงไม่ช่วยเปลี่ยนอะไร

เชื่อว่าความพยายามจะเป็นเครื่องมือที่นำพาไปสู่ความสำเร็จ

เจอคำวิจารณ์

ไม่ชอบ/ไม่สนใจ ฟีดแบคเป็นคำติ

ยอมรับคำติ นำมาวิเคราะห์และพัฒนา ปรับปรุงตัวเอง

เห็นคนอื่นสำเร็จ

รู้สึกไม่ดี/รู้สึกถูกคุกคาม เมื่อเห็นความสำเร็จของผู้อื่น

มีเรื่องอะไรที่เราสามารถเรียนรู้ได้จากคนที่ประสบความสำเร็จเหล่านี้ได้บ้าง

 ขั้นตอนที่ 2 พูดกับตัวเองด้วยเสียงเชิงบวก

Fixed Mindset แสดงผ่าน ภาษา 3 ทาง ได้แก่ ข้อความ ท่าทาง น้ำเสียง ตัวอย่างเช่น ฉันไม่กล้า ไม่พร้อม ฉันไม่รวย ฉันทำไม่ได้ ฉันทำไม่เป็น

Growth Mindset แสดงผ่าน ภาษา ได้แก่ พยายาม แค่ยัง ทำได้

 

ขั้นตอนที่ 3 ลงมือทำเพื่อให้เกิดผลลัพธ์

 

ผู้เรียนที่มี Growth Mindset จะประสบความสำเร็จในการเรียนรู้และเติบโตอย่างมีคุณภาพ

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=1507
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ » UX/UI Design ต่างกันอย่างไร
การออกแบบเว็บไซต์ การออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการดิจิทัล มีความสำคัญมากขึ้นเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการออกแบบประสบการณ์ผู้ใช้ (User Experience Design: UX Design) และการออกแบบส่วนต่อประสานผู้ใช้ (...
UI Design  UX Design  UX UI  UX/UI  การออกแบบเว็บ     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้เขียน ช่อทิพย์ สิทธิ  วันที่เขียน 6/9/2567 14:14:09  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/10/2567 3:39:02   เปิดอ่าน 69  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การพัฒนาโปรแกรม » การพัฒนาระบบเพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน สำหรับการจัดเก็บและทำลายเอกสาร
การพัฒนาระบบเพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน สำหรับการจัดเก็บและทำลายเอกสาร โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน โดยการนำระบบจัดเก็บและทำลายเอกสารมาช่วยปรับปรุงประสิทธิผล ในกระบวนการทำ...
Re-Design Process?  ระบบจัดเก็บและทำลายเอกสาร     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้เขียน ณัฐกฤตา โกมลนาค  วันที่เขียน 5/9/2567 11:45:54  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 19/10/2567 11:23:56   เปิดอ่าน 163  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » ข้อมูลเปิด (Open Data) เบื้องต้น
ข้อมูลเปิด (Open Data) คือ ข้อมูลที่สามารถเข้าถึง ใช้งาน แก้ไข และแบ่งปันได้โดยไม่จำกัดข้อกำหนดหรือค่าใช้จ่าย ข้อมูลเปิดมักถูกเผยแพร่ในรูปแบบที่สามารถอ่านและวิเคราะห์ได้ง่าย เช่น ไฟล์ CSV, JSON, หร...
การเข้าถึง  การใช้งาน  การแบ่งปัน  การเปิดเผย  ข้อมูลเปิด     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 2/9/2567 9:45:13  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 17/10/2567 2:04:38   เปิดอ่าน 66  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » คุณธรรมจริยธรรมในการทำงานเกี่ยวกับเทคโนโลยีในมหาวิทยาลัย (2)
จรรยาบรรณและจริยธรรม ในการทำงานเกี่ยวกับเทคโนโลยีในมหาวิทยาลัยเกี่ยวข้องกับแนวทางเพื่อให้การใช้เทคโนโลยีในงานวิจัย การสอน และการบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีความรับผิดชอบและถูกต้องตามหลักจริยธรรม
การเข้าถึงและการรวมกลุ่ม  ความโปร่งใสและความรับผิดชอบ  จรรยาบรรณและจริยธรรม  เทคโนโลยี  แนวทางวิจัยที่มีจริยธรรม     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 1/9/2567 12:56:52  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 17/10/2567 10:24:17   เปิดอ่าน 63  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » คุณธรรมจริยธรรมในการทำงานเกี่ยวกับเทคโนโลยีในมหาวิทยาลัย
จรรยาบรรณและจริยธรรม ในการทำงานเกี่ยวกับเทคโนโลยีในมหาวิทยาลัยเกี่ยวข้องกับแนวทางเพื่อให้การใช้เทคโนโลยีในงานวิจัย การสอน และการบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีความรับผิดชอบและถูกต้องตามหลักจริยธรรม
การใช้เทคโนโลยีอย่างรับผิดชอบ  ความเป็นส่วนตัวและความปลอดภัยของข้อมูล  จรรยาบรรณและจริยธรรม  เทคโนโลยี     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 1/9/2567 12:45:40  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/10/2567 0:54:02   เปิดอ่าน 64  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง