เมนู
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Maejo University
ติดต่อ
บุคลากร (เข้าสู่ระบบ)
แบบสอบถามคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์สาขาวิชาสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ (ระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา) จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประจำปีการศึกษา 2564
ตั้งแต่วันที่ 01 พฤษภาคม 2565 ถึง 01 กรกฎาคม 2565
แบบสอบถามมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ (คำถามแยกเป็น 3 ระดับ คือ 1.ระดับปริญญาตรี 2.ระดับปริญญาโท และ 3.ปริญญาเอก) ซึ่งมีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (ผู้ตอบแบบสอบถาม) ได้แก่ นักศึกษา, ผู้ประกอบการหรือผู้ใช้บัณฑิต, ศิษย์เก่า, ผู้ปกครอง, นักเรียนที่สนใจจะเข้าศึกษาต่อ, อาจารย์, บุคลาการสายสนับสนุน, บุคลากร, อาจารย์หรือบุคลากรเกษียนอายุ
หน่วยงานความร่วมมือในและต่างประเทศ, นักวิจัย หรืออื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ดังนั้น จึงขอความอนุเคราะห์จากท่าน ตอบแบบสอบถามตามความเป็นจริง ทั้งนี้ การวิเคราะห์ข้อมูลจะไม่มีผลกระทบต่อท่าน ข้อมูลที่ได้จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตรของคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยแม่โจ้
1 ข้อมูลทั่วไป
ความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย/ผู้ตอบแบบสอบถาม
1
กลุ่ม/ประเภทผู้ตอบแบบสอบถาม
ท่านเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรีของคณะฯ
ท่านเป็นนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของคณะฯ
ท่านเป็นผู้ใช้บัณฑิต/ผู้ประกอบการ(หน่วยงานเอกชน/กิจการส่วนตัว))
ท่านเป็นผู้ใช้บัณฑิต/ผู้ประกอบการ(หน่วยงานภาครัฐ/รัฐวิสาหกิจ))
ท่านเป็นศิษย์เก่า
ท่านเป็นผู้ปกครอง
ท่านเป็นกลุ่มนักเรียน/นักศึกษาที่สนใจเข้าศึกษาต่อ
ท่านเป็นอาจารย์คณะสัตวศาสตร์ฯ
ท่านเป็นบุคลากรสายสนับสนุนคณะสัตวศาสตร์ฯ
ท่านเป็นอาจารย์/บุคลากรที่เกษียนอายุแล้ว
ท่านเป็นผู้สนับสนุนทุนศึกษาต่อของนักศึกษา/แหล่งทุนการศึกษา/MOU
ท่านมีความเกี่ยวข้อง อื่นๆ โปรดระบุ....
1.1
หากประเภทกลุ่มผู้ใช้บัณฑิตของท่าน เป็นอื่นๆ (1.00) โปรดระบุ....
2
โปรดกรอกชื่อสถานศึกษา/หน่วยงาน/สถานประกอบการของท่าน
3
ท่านเกี่ยวข้องกับนักศึกษาหรือบัณฑิตสาขาวิชาสัตวศาสตร์ ในระดับการศึกษาใดบ้าง (ตอบได้หลายข้อ)
ระดับปริญญาตรี
ระดับปริญญาโท
ระดับปริญญาเอก
2 ความสำคัญของคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์
คำอธิบาย : โปรดให้คะแนนความสำคัญของคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ทุกข้อ ตามลำดับ สิ่งใดสำคัญที่สุด/ที่ท่านว่าสำคัญที่สุด (โดยกำหนดให้หมายเลข 5 = สำคัญมากที่สุด และน้อยลงจนถึง 1
ความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย/ผู้ตอบแบบสอบถาม
1
การเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณวิชาชีพ และเป็นพลเมืองดีของสังคม (ระดับปริญญาตรี)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
2
การเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณวิชาชีพ และเป็นพลเมืองดีของสังคม (ระดับปริญญาโท)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
3
การเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณวิชาชีพ และเป็นพลเมืองดีของสังคม (ระดับปริญญาเอก)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
4
มีทัศนคติที่ดี มีภาวะผู้นำ มีความรับผิดชอบ (ตรงต่อเวลา ทำงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามกำหนด)- (ระดับปริญญาตรี)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
5
มีทัศนคติที่ดี มีภาวะผู้นำ มีความรับผิดชอบ (ตรงต่อเวลา ทำงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามกำหนด)- (ระดับปริญญาโท)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
6
มีทัศนคติที่ดี มีภาวะผู้นำ มีความรับผิดชอบ (ตรงต่อเวลา ทำงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามกำหนด)- (ระดับปริญญาเอก))
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
7
มีความใฝ่รู้หมั่นแสวงหาความรู้อยู่เสมอทำให้เป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong learner)-(ระดับปริญญาตรี)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
8
มีความใฝ่รู้หมั่นแสวงหาความรู้อยู่เสมอทำให้เป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong learner)-(ระดับปริญญาโท))
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
9
มีความใฝ่รู้หมั่นแสวงหาความรู้อยู่เสมอทำให้เป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong learner)-(ระดับปริญญาเอก)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
10
มีมนุษยสัมพันธ์ดี สามารถทำงานร่วมกับคนอื่นได้ดี และเคารพกฏระเบียบของสังคมและองค์กร-(ระดับปริญญาตรี)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
11
มีมนุษยสัมพันธ์ดี สามารถทำงานร่วมกับคนอื่นได้ดี และเคารพกฏระเบียบของสังคมและองค์กร-(ระดับปริญญาโท)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
12
มีมนุษยสัมพันธ์ดี สามารถทำงานร่วมกับคนอื่นได้ดี และเคารพกฏระเบียบของสังคมและองค์กร-(ระดับปริญญาเอก)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
13
มีทักษะการสื่อสารภาษาไทย (การเขียน การอ่าน การพูด การฟัง) ที่ดี สื่อสารได้ดี เขียนได้ชัดเจน รับฟังอย่างมีวิจารณญาณ-(ระดับปริญญาตรี)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
14
มีทักษะการสื่อสารภาษาไทย (การเขียน การอ่าน การพูด การฟัง) ที่ดี สื่อสารได้ดี เขียนได้ชัดเจน รับฟังอย่างมีวิจารณญาณ-(ระดับปริญญาโท)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
15
มีทักษะการสื่อสารภาษาไทย (การเขียน การอ่าน การพูด การฟัง) ที่ดี สื่อสารได้ดี เขียนได้ชัดเจน รับฟังอย่างมีวิจารณญาณ-(ระดับปริญญาเอก)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
16
มีทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ (การเขียน การอ่าน การพูด การฟัง) ที่ดี ฟังและพูดโต้ตอบได้ อ่านรู้เรื่อง เขียนพอได้ -(ระดับปริญญาตรี)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
17
มีทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ (การเขียน การอ่าน การพูด การฟัง) ที่ดี ฟังและพูดโต้ตอบได้ อ่านรู้เรื่อง เขียนพอได้ - (ระดับปริญญาโท)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
18
มีทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ (การเขียน การอ่าน การพูด การฟัง) ที่ดี ฟังและพูดโต้ตอบได้ อ่านรู้เรื่อง เขียนพอได้ -(ระดับปริญญาเอก)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
19
ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ-วิจัยได้อย่างแม่นยำ -(ระดับปริญญาตรี)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
20
ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ-วิจัยได้อย่างแม่นยำ -(ระดับปริญญาโท)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
21
ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ-วิจัยได้อย่างแม่นยำ -(ระดับปริญญาเอก)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
22
มีความรู้พื้นฐานและทักษะเพียงพอต่อการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ-(ระดับปริญญาตรี)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
23
มีความรู้พื้นฐานและทักษะเพียงพอต่อการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ-(ระดับปริญญาโท)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
24
มีความรู้พื้นฐานและทักษะเพียงพอต่อการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ-(ระดับปริญญาเอก)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
25
มีความคิดสร้างสรรค์และทักษะในการแก้ปัญหา-(ระดับปริญญาตรี)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
26
มีความคิดสร้างสรรค์และทักษะในการแก้ปัญหา-(ระดับปริญญาโท)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
27
มีความคิดสร้างสรรค์และทักษะในการแก้ปัญหา-(ระดับปริญญาเอก)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
28
มีวิจารณญานในการคิดวิเคราะห์เพื่อสร้างสรรค์ผลงาน-(ระดับปริญญาตรี)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
29
มีวิจารณญานในการคิดวิเคราะห์เพื่อสร้างสรรค์ผลงาน-(ปริญญาโท)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
30
มีวิจารณญานในการคิดวิเคราะห์เพื่อสร้างสรรค์ผลงาน-(ระดับปริญญาเอก)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
31
สามารถบูรณาการความรู้และประสบการณ์ เพื่อให้เกิดสิ่งใหม่หรือแนวคิดใหม่ได้ดี-(ระดับปริญญาตรี)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
32
สามารถบูรณาการความรู้และประสบการณ์ เพื่อให้เกิดสิ่งใหม่หรือแนวคิดใหม่ได้ดี-(ระดับปริญญาโท)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
33
สามารถบูรณาการความรู้และประสบการณ์ เพื่อให้เกิดสิ่งใหม่หรือแนวคิดใหม่ได้ดี-(ระดับปริญญาเอก)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
34
สามารถบริหารจัดการแหล่งความรู้เพื่อนำมาใช้แก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างมีประสิทธิภาพ-(ระดับปริญญาตรี)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
35
สามารถบริหารจัดการแหล่งความรู้เพื่อนำมาใช้แก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างมีประสิทธิภาพ-(ระดับปริญญาโท)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
36
สามารถบริหารจัดการแหล่งความรู้เพื่อนำมาใช้แก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างมีประสิทธิภาพ-ปริญญาเอก
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
37
เชื่อมั่นในพลังสมอง/สติปัญญา (Brain power) ของตนเองต่อการเริ่มต้นธุรกิจใหม่-(ระดับปริญญาตรี)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
38
เชื่อมั่นในพลังสมอง/สติปัญญา (Brain power) ของตนเองต่อการเริ่มต้นธุรกิจใหม่-(ระดับปริญญาโท)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
39
เชื่อมั่นในพลังสมอง/สติปัญญา (Brain power) ของตนเองต่อการเริ่มต้นธุรกิจใหม่-(ระดับปริญญาเอก)
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
40
ด้านทักษะและวิชาชีพที่ควรให้ความสำคัญมากที่สุด-ระดับปริญญาตรี (กรุณาเลือกตอบที่สำคัญที่สุด 3 ด้าน)
ด้านกฎหมายและมาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับปศุสัตว์
ด้านการเลี้ยงและการจัดการฟาร์มสัตว์
ด้านการตลาดและธุรกิจปศุสัตว์
ด้านการแปรรูปและผลิตภัณฑ์จากสัตว์
ด้านวิทยาการสืบพันธุ์และผสมเทียมสัตว์
ด้านสุขภาพและการใช้ยาในสัตว์
ด้านอาหารและการให้อาหารสัตว์
ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมในฟาร์มปศุสัตว์
ด้านช่างและการซ่อมบำรุงในฟาร์มปศุสัตว์ (ไฟฟ้า ประปา เครื่องยนต์)
ด้านพื้นฐานสัตวศาสตร์ (กายวิภาคและสรีรวิทยาของสัตว์ การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ โภชนศาสตร์สัตว์)
41
ด้านทักษะและวิชาชีพที่ควรให้ความสำคัญมากที่สุด-ระดับปริญญา โท(กรุณาเลือกตอบที่สำคัญที่สุด 3 ด้าน)
กลุ่มวิชาสถิติและการปรับปรุงพันธุ์สัตว์
กลุ่มวิชาสรีรวิทยา
กลุ่มวิชาโภชนศาสตร์สัตว์
กลุ่มวิชาสุขศาสตร์สัตว์
กลุ่มวิชาการผลิตสัตว์ และการจัดการสิ่งแวดล้อมฟาร์ม
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์
การทำงานเกี่ยวกับงานวิจัยฯ
42
ด้านทักษะและวิชาชีพที่ควรให้ความสำคัญมากที่สุด-ระดับปริญญาเอก (กรุณาเลือกตอบที่สำคัญที่สุด 3 ด้าน)
กลุ่มวิชาสถิติและการปรับปรุงพันธุ์สัตว์
กลุ่มวิชาสรีรวิทยา
กลุ่มวิชาโภชนศาสตร์สัตว์
กลุ่มวิชาสุขศาสตร์สัตว์
กลุ่มวิชาการผลิตสัตว์ และการจัดการสิ่งแวดล้อมฟาร์ม
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์
การทำงานเกี่ยวกับงานวิจัยฯ
3 ข้อคิดเห็นและเสนอแนะเพิ่มเติม
คำอธิบาย : ข้อคิดเห็นเพิ่มเติมเพื่อการปรับปรุงพัฒนาในหลักสูตรทั้งระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก
ข้อเสนอและและข้อคิดเห็นเพิ่มเติมอันจะเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอน การพัฒนา และปรับปรุงหลักสูตร
1
ข้อคิดเห็นและเสนอแนะเพิ่มเติม สำหรับหลักสูตรระดับปริญญาตรี สาขาวิชาสัตวศาสตร์
2
ข้อคิดเห็นและเสนอแนะเพิ่มเติม สำหรับหลักสูตรระดับปริญญาโท สาขาวิชาสัตวศาสตร์
3
ข้อคิดเห็นและเสนอแนะเพิ่มเติม สำหรับหลักสูตรระดับปริญญาเอก สาขาวิชาสัตวศาสตร์
แบบสอบถามอื่นๆล่าสุด
แบบสำรวจความต้องการเข้าร่วมโครงการทำงานมีสุข บุคลิกสดใส อาชีพเสริมสุขใจ ด้วยรักและห่วงใยชาวแม่โจ้
แบบประเมินความพึงพอใจต่อสภาพแวดล้อม การสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน และการให้บริการ ของคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี ปีการศึกษา 2564
แบบสอบถามความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อคุณภาพหลักสูตรระดับปริญญาตรี(1)
แบบสอบถามความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อคุณภาพหลักสูตรระดับปริญญาโท สัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2564
แบบสอบถามความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อคุณภาพหลักสูตรระดับปริญญาเอก(1)
แบบสอบถามคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์สาขาวิชาสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ (ระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา) จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประจำปีการศึกษา 2564
แจ้งรายชื่อผู้ดูแลอาคาร
แบบสอบถามโครงการสืบสานป๋าเวณีปี๋ใหม่เมือง ประจำปี 2564 "พิธีดำหัวหัวผู้อาวุโสและอธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ประจำปี 2565"
แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อหลักสูตรสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ประจำปี พ.ศ. 2564
ความพึงพอใจกับผู้ให้บริการ เรื่องจิตบริการ ของ ดร.ณรงค์ โยธิน