การพัฒนาปฏิกิริยาลูกโซ่โพลิเมอเรสแบบมัลติเพล็กซ์สำหรับตรวจวินิจฉัยการติดเชื้อ Ehrlichia canis, Hepatozoon canis, Babesia canis and Anaplasma platys ในสุนัข

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : -- ไม่ระบุ --
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การพัฒนาปฏิกิริยาลูกโซ่โพลิเมอเรสแบบมัลติเพล็กซ์สำหรับตรวจวินิจฉัยการติดเชื้อ Ehrlichia canis, Hepatozoon canis, Babesia canis and Anaplasma platys ในสุนัข
บทคัดย่อ :

งานวิจัยนี้พัฒนาเทคนิคปฏิกิริยาลูกโซ่โพลีเมอเรส

แบบมัลติเพล็กซ์ เพื่อช่วยในการวินิจฉัยการติดเชื้อ

ก่อโรคพยาธิในเลือดในสุนัข โดยเทคนิคที่พัฒนาขึ้น

ต่อยอดจากเทคนิคที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นก่อนหน้านี้ซึ่งสามารถ

ตรวจพบเชื้อก่อโรคได้ 3 ชนิด ได้แก่ Ehrlichia canis,

Hepatozoon canis (โปรโตซัว) และ Babesia canis

(โปรโตซัว) โดยเทคนิคที่พัฒนาขึ้นใหม่นี้สามารถตรวจหายีน

VirB9ของเชื้อ E. canis,ยีน 18S rRNA ของเชื้อ H. canis

และ B. canis และยีน groELของเชื้อ Anaplasma platys

จากตัวอย่างเลือดของสุนัข เชื้อก่อโรคทั้งสี่ชนิดมีพาหะ

ร่วมกัน คือเห็บสุนัขสีน้ำตาล (Rhipicephalussanguineus)

และทำให้สุนัขแสดงอาการป่วยที่คล้ายกัน ได้แก่ ซีด เบื่อ

อาหาร และอ่อนแรง วิธีการวินิจฉัยการติดเชื้อเหล่านี้

ในปัจจุบันใช้วิธีการย้อมฟิล์มเลือดบางด้วยสี Wright–

Giemsa วิธี Immunochromatographic เพื่อตรวจหา

แอนติบอดี และวิธีปฏิกิริยาลูกโซ่โพลิเมอเรส ในวิธีต่างๆ

เหล่านี้วิธีปฏิกิริยาลูกโซ่โพลิเมอเรสให้ความไวในการ

ตรวจพบเชื้อสูงที่สุด แต่ใช้ระยะเวลาในการตรวจนาน

ที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อตรวจหาเชื้อก่อโรคทีละเชื้อ

เทคนิคปฏิกิริยาลูกโซ่โพลิเมอเรสแบบมัลติเพล็กซ์

ที่พัฒนาขึ้นนี้จะช่วยลดระยะเวลาในการวินิจฉัยการ

ติดเชื้อโรคทั้งสี่ชนิดได้

คำสำคัญ :
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Development of Multiplex Polymerase Chain Reaction for Detection of Ehrlichia canis, Hepatozoon canis, Babesia canis and Anaplasma platys in Dogs
Abstract :
Keyword :
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 รองศาสตราจารย์ ดร.วศิน เจริญตัณธนกุล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2564)
25 ไม่ระบุ
2 รองศาสตราจารย์ ดร.แสงทอง พงษ์เจริญกิต
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
25 ไม่ระบุ
3 น.ส.เรือนแก้ว ประพฤติ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : สถาบันบริการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์
ผู้วิจัยร่วม
25 ไม่ระบุ
4 เพ็ญนภา ตาคำ
ประเภทบุคคล : นักศึกษา
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีชีวภาพ
ผู้วิจัยร่วม
25 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2565
1/10/2564 ถึง 30/9/2565
ประเภทแหล่งทุน : ทุนส่วนตัว ส่วนตัวของผู้วิจัย
0.00
   รวมจำนวนเงิน : 0.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
15 กรกฎาคม 2564
วารสารที่ตีพิมพ์ : วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 
ฉบับที่ : 38(3)
หน้า : 62-74
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร : สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
0.8
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023