การศึกษาความพร้อมของการดำเนินงานด้านสวัสดิการทางการเงิน สำหรับกลุ่มเกษตรอินทรีย์ในอำเภอสันทราย แม่ริม แม่แตง และสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : OT-65-061
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การศึกษาความพร้อมของการดำเนินงานด้านสวัสดิการทางการเงิน สำหรับกลุ่มเกษตรอินทรีย์ในอำเภอสันทราย แม่ริม แม่แตง และสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่
บทคัดย่อ :

การศึกษาความพร้อมของการดาเนินงานด้านสวัสดิการทางการเงิน สาหรับกลุ่มเกษตรอินทรีย์ในอาเภอสันทราย แม่ริม แม่แตง และสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพร้อมด้านสวัสดิการทางการเงิน และศึกษาเจตคติต่อการจัดสวัสดิการทางการเงินของกลุ่มเกษตรอินทรีย์ที่อยู่ในเครือข่ายสันทรายโมเดลจานวน 4 อาเภอ ได้แก่ อาเภอสันทราย อาเภอแม่ริม อาเภอแม่แตง และอาเภอสันกาแพง จานวนทั้งสิ้น 61 ราย โดยงานวิจัยนี้เก็บรวบรวมข้อมูล จากแบบสอบถาม การสนทนากลุ่ม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรนณา

ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มเกษตรอินทรีย์มีระดับความรู้การจัดสวัสดิการทางด้านการเงินโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (ร้อยละ 48.80 มีคะแนนอยู่ระหว่างช่วง 16 - 22 คะแนน) ด้านการ มีส่วนร่วมปฏิบัติการจัดสวัสดิการทางการเงิน พบว่า เกษตรกรมีส่วนร่วมต่อการดาเนินการ จัดสวัสดิการทางการเงิน อยู่ในระดับสูง (ร้อยละ 96.20 มีคะแนนอยู่ระหว่างช่วง 9 - 12 คะแนน) ซึ่งแสดงถึงความพร้อมของกลุ่มในการดาเนินการจัดสวัสดิการทางการเงิน นอกจากนี้ยังพบว่าเกษตรกรมีเจตคติที่ดีต่อการจัดสวัสดิการทางการเงินทุกด้านในระดับเห็นด้วยมากที่สุด ได้แก่ ด้านวัตถุประสงค์ในการจัดสวัสดิการทางการเงิน (ค่าเฉลี่ย 4.32) หลักการสาคัญของการจัดสวัสดิการทางการเงิน (ค่าเฉลี่ย 4.25) และประโยชน์จากการจัดสวัสดิการทางการเงิน (ค่าเฉลี่ย 4.00) โดยเกษตรกรยังเห็นว่าตนเองจะต้องมีส่วนร่วมในการดาเนินงาน ด้านสวัสดิการทางการเงิน ในระดับสูง (ร้อยละ 96.20) และผลจากการสนทนากลุ่ม พบว่า เกษตรกรมีความมุ่งมั่นต่อการเตรียมความพร้อมในการจัดตั้งกลุ่มสวัสดิการทางการเงินในอนาคตต่อไป

คำสำคัญ : สวัสดิการทางการเงิน; ความพร้อมทางการเงิน; กลุ่มเกษตรอินทรีย์
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : The study of readiness in Financial welfare procedure for organic farming of Sansai District Maerim District Maetang District and Sankamphang District, Chiang Mai Province
Abstract :

A Study on Readiness in Financial welfare procedure for organic farming of Sansai district Maerim district Maetang district and Sankamphang district, Chiang Mai Province. The objective is to study the readiness in financial welfare and the attitudes towards financial welfare of the organic farming groups in the Sansai Model network of 61 cases in 4 districts Sansai district, Maerim district, Maetang district and Sankamphang district. The data were collected from questionnaires Focus group and analyze the data with descriptive statistics.

The study found that farmers engaged in organic agriculture degree of welfare, the overall financial moderate (48.80 percent have scores between 16 - 22 score) by found that farmers insurance knowledge levels (5 - 6), and the management of savings group (6 - 7), but the high level of knowledge of savings (4 - 6 votes) and risk credit (3 - 5), is a moderate and healthy attitudes toward agriculture operations financial welfare. All sides agree that most levels in both the purpose of welfare finance average 4.32. The principles of welfare finance average 4.25, and the benefits of welfare finance average 4.00 by farmers also found themselves will need to engage in operations to financial welfare and high level as 96.20%. After we also held a meeting to clarify the farmers attending a meeting, found that the farmers are committed to prepare for the establishment of the group following financial welfare.

Keyword : Financial Welfare; Readiness in Financial; Organic Farming
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ดร.จิรายุ หาญตระกูล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยหลัก
(2564)
60 นักวิจัยรุ่นเก่า
2 อาจารย์ปัณณวัฒน์ วังอนุสรณ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยร่วม
20 นักวิจัยรุ่นเก่า
3 อาจารย์ ดร.ประภาพร กิจดำรงธรรม
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยร่วม
20 นักวิจัยรุ่นเก่า
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2565
1/10/2564 ถึง 30/9/2565
ประเภทแหล่งทุน : ทุนส่วนตัว ส่วนตัวของผู้วิจัย
ทุนส่วนตัว
0.00
   รวมจำนวนเงิน : 0.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
30 มิถุนายน 2565
วารสารที่ตีพิมพ์ : วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง 
ฉบับที่ : 1
หน้า : 12-22
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
0.6
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023