การพัฒนาแบบจำลองการตลาดเชิงสัมพันธ์ออนไลน์ในการให้บริการ Mobile Banking ในประเทศไทย ด้วยการวิเคราะห์ปัจจัยเชิงสำรวจ

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : 0.8-65.4
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การพัฒนาแบบจำลองการตลาดเชิงสัมพันธ์ออนไลน์ในการให้บริการ Mobile Banking ในประเทศไทย ด้วยการวิเคราะห์ปัจจัยเชิงสำรวจ
บทคัดย่อ :

บทความวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาแบบจำลองการตลาดเชิงสัมพันธ์ออนไลน์ ในการให้บริการ Mobile Banking ที่มีความสอดคล้องกับบริบทในประเทศไทย การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ที่ใช้บริการ Mobile Banking ในประเทศไทย จำนวน 433 คน ด้วยวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามออนไลน์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์ค่าดัชนีความกลมกลืนของโมเดลโดยรวม ในบริบทการใช้บริการของคนไทย หลังจากผู้วิจัยได้ปรับโมเดล พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าดัชนีความกลมกลืนทั้ง 6 ดัชนีที่ผ่านเกณฑ์ยอมรับ ?2 = 149.313, ?2/d.f. = 1.990, RMSEA = 0.048, CFI = 0.978, TLI = 0.970 และ SRMR = 0.036 ซึ่งได้แก่ตัวแปรการตลาดเชิงสัมพันธ์ออนไลน์ ตัวแปรคุณภาพความสัมพันธ์ และตัวแปรความผูกพันของลูกค้าและความภักดี โดยผลการพัฒนาแบบจำลองที่ได้ในครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า การตลาดเชิงสัมพันธ์ออนไลน์ส่งผลทางตรงต่อคุณภาพความสัมพันธ์ และส่งผลทางตรงต่อความผูกพันของลูกค้าและความภักดี และคุณภาพความสัมพันธ์ส่งผลทางตรงต่อความผูกพันของลูกค้าและความภักดีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ บทความวิจัยฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ให้บริการ Mobile Banking หน่วยงานและธุรกิจบริการที่เกี่ยวข้องสามารถกำหนดกลยุทธ์และนโยบาย เพื่อใช้ประกอบการพัฒนาและปรับปรุงระบบการให้บริการ

คำสำคัญ : การตลาดเชิงสัมพันธ์ออนไลน์; การพัฒนาแบบจำลอง; Mobile Banking; การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงสำรวจ
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Developing the Online Relationship Marketing Models in Thai Mobile Banking Services using Exploratory Factor Analysis
Abstract :

This research article aimed to develop an online relationship marketing in mobile banking services that can fit in Thailand. The researcher employed quantitative research. The sample was 433 mobile banking users in Thailand. Data was collected through an online survey. The analysis of the overall harmony index of the model according to Thai people. After the researcher adjusted the model, it was found that the model was consistent with the empirical data. The coefficient of harmony of the 6 indices that passed the accepted criterion was ?2 = 149.313, ?2/d.f. = 1.990, RMSEA = 0.048, CFI = 0.978, TLI = 0.970, and SRMR = 0.036. The research found that online relationship marketing has a statistically significant direct effect on relationship quality, customer engagement, and loyalty. Relationship quality has a statistically significant direct effect on customer engagement and loyalty. This research article can be utilized by mobile banking service providers, agencies that make policies, and related departments and service businesses to ensure they develop and improve their service systems.

Keyword : Online Relationship Marketing; Model Development; Mobile Banking; Exploratory Factor Analysis
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 เซ่าหยี แซ่ฟัง
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : -
ผู้วิจัยหลัก
(2564)
40 นักวิจัยรุ่นเก่า
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรีดา ศรีนฤวรรณ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยร่วม
20 นักวิจัยรุ่นเก่า
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภูษณิศา เตชเถกิง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยร่วม
20 นักวิจัยรุ่นเก่า
4 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรุณี ยศบุตร
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยร่วม
20 นักวิจัยรุ่นเก่า
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2565
1/10/2564 ถึง 30/9/2565
ประเภทแหล่งทุน : อื่น ๆ อื่น ๆ
0.00
   รวมจำนวนเงิน : 0.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
31 กรกฎาคม 2565
วารสารที่ตีพิมพ์ : วารสารรัชต์ภาคย์ 
ฉบับที่ : 47
หน้า : 159-176
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร : สถาบันรัชต์ภาคย์
0.8
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023