การพัฒนาแอปพลิเคชันการซื้อขายข้าวไทยบริษัทโรงสีข้าวไทยไรซ์

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : 0.2-65.3
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การพัฒนาแอปพลิเคชันการซื้อขายข้าวไทยบริษัทโรงสีข้าวไทยไรซ์
บทคัดย่อ :

การพัฒนาแอปพลิเคชันการซื้อขายข้าวไทย เป็นส่วน

ช่วยในการบริหารจัดการข้อมูลของการซื้อขายข้าวไทยและยัง

เป็นช่องทางในการประชาสัมพันธ์ข้อมูลให้ลูกค้าได้รับทราบ โดย

ระบบนาเสนอข้อมูลช่วยในการการเลือกซื้อข้าวไทยให้ลูกค้าโดย

ที่ไม่ต้องไปเดินทางมาดูสินค้าที่ร้านค้าหรือห้างสรรพสินค้าด้วย

ตนเอง ซึ่งช่วยทาให้ประหยัดเวลา และแอปพลิเคชันนี้จะช่วยให้

ทางชาวนามียอดขายเพิ่มขึ้นเนื่องจากยุคสมัยปัจจุบันการทา

โฆษณาออนไลน์จะช่วยให้เข้าถึงกลุ่มคนที่สนใจข้าวไทยนั้น

สามารถเข้าถึงข้อมูลที่สนใจได้ง่ายสะดวกรวดเร็วได้มากยิ่งขึ้น

งานวิจัยนี้ได้พัฒนาแอปพลิเคชันโดยใช้ตัวแบบ SDLC และ

หลักการของ AGILE ในการพัฒนา โดยผลการศึกษาจากการ

พัฒนาแอปพลิเคชันนี้พบว่าผู้ใช้งานซึ่งเป็นเจ้าของร้านได้รับ

ความสะดวกในการจัดการข้อมูลสินค้า การเรียกดูข้อมูลผู้ใช้งาน

การแจ้งเตือนเมื่อมีการสั่งซื้อสินค้า ส่วนผู้ใช้งานที่เป็นลูกค้า

ได้รับประโยชน์หลักๆคือ สามารถเลือกซื้อข้าวไทยผ่านทางแอพ

พลิเคชันได้เหมือนรับโดยตรงจากชาวนา สามารถจ่ายเงินผ่าน

ระบบออนไลน์

คำสำคัญ : ระบบจัดการข้อมูลผู้ใช้งาน ข้าวสารบรรจุถุง แอปพลิเคชัน
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : The Development of Application Thai Rice
Abstract :

The development of Thai rice trading

application took part to assist in Thai rice trading data

administration and to be a public relations channel for

customers. The system offered information that helped

customers in Thai rice purchasing without having to

travel to see the products at the department stores by

themselves and this helped saving their time.

Moreover, this application would help increasing salesfor farmers since the online advertisement in this age

could help reaching to the group who were interesting

on Thai rice, customers then could be more easily and

quickly access to their interested information.

This research developed an application using

SDL C model and AGILE principles. The results from this

application development found that users who were

the shop owners gained convenience in their products

information management from browsing on users

information and notification when order was placing.

Mostly, the customer users received the major benefits

from their selectable to buy Thai rice through the

application just like receiving the goods directly from

the farmers via online payment system.

Keyword : Customer Information Management System, Packaged Rice, Rice Trading Application
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ประภาศิริ บัวเขียว
ประเภทบุคคล : นักศึกษา
หน่วยงานต้นสังกัด : บริหารธุรกิจ ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ผู้วิจัยหลัก
(2564)
20 นักวิจัยรุ่นใหม่
2 อารีรัตน์ คำยอง
ประเภทบุคคล : นักศึกษา
หน่วยงานต้นสังกัด : บริหารธุรกิจ ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ผู้วิจัยหลัก
(2564)
20 นักวิจัยรุ่นใหม่
3 อุทัยทิพย์ กันเงิน
ประเภทบุคคล : นักศึกษา
หน่วยงานต้นสังกัด : บริหารธุรกิจ ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ผู้วิจัยหลัก
(2564)
20 นักวิจัยรุ่นใหม่
4 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฉัตร ชูชื่น
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยร่วม
40 นักวิจัยรุ่นเก่า
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2564
1/1/2564 ถึง 31/12/2564
ประเภทแหล่งทุน : อื่น ๆ อื่น ๆ
0.00
   รวมจำนวนเงิน : 0.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
24 กุมภาพันธ์ 2565
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
ฉบับที่ : 1
หน้า : 1302-1310
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร :
0.2
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023