การเสริมสร้างชุมชนเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าสีเขียวด้วยเทคโนโลยีพลังงานทดแทนและระบบบริหารจัดการแบบสมาร์ทฟาร์ม

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : -- ไม่ระบุ --
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การเสริมสร้างชุมชนเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าสีเขียวด้วยเทคโนโลยีพลังงานทดแทนและระบบบริหารจัดการแบบสมาร์ทฟาร์ม
บทคัดย่อ :

ทสรุปข้อเสนอโครงการ ภาษาไทย (ไม่เกิน 3000 ค้า)

โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ต้องการถ่ายทอดองค์ความรู้การใช้เทคโนโลยีพลังงานทดแทนร่วมกับระบบบริหารจัดการแบบสมาร์ทฟาร์มให้กับกลุ่มเกษตรกรที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้้าผ่านการถ่ายทอดนวัตกรรมต้นแบบและสร้างพื้นที่ชุมชนต้นแบบที่น้านวัตกรรมเทคโนโลยีพลังงานทดแทนและระบบบริหารจัดการแบบสมาร์ทฟาร์มลดต้นทุนทางพลังงานการผลิตและสร้างรายได้จากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าให้เพิ่มขึ้น จากประสบการณ์ด้าเนินงานของคณะผู้วิจัยในสังกัดของวิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้รับการสนับสนุนทุนโครงการวิจัยต่อเนื่อง 3 ปี จากส้านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ในปีงบประมาณ 2559 ปีงบประมาณ 2561 ภายใต้โครงการโครงการชุมชนต้นแบบเลี้ยงปลาอัจฉริยะสีเขียวเพื่อลดปริมาณการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล กรณีศึกษาชุมชนบ้านทุ่งยาว อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ และปีงบประมาณ 2563 ภายใต้โครงการเสริมสร้างชุมชนเขียวในการท้าฟาร์มเลี้ยงปลาอัจฉริยะในจังหวัดเชียงใหม่เพื่อลดปริมาณการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล การด้าเนินงานวิจัยทั้ง 3 โครงการ ได้ช่วยเหลือเกษตรกรที่ประกอบอาชีพเพาะเลี้ยงปลาแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการจัดการต้นทุนทางพลังงานโดยใช้ระบบเติมอากาศร่วมกับระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และการใช้ระบบบริการจัดการแบบสมาร์ทฟาร์มเช่น ระบบตรวจวัดสภาพแวดล้อม ระบบตรวจวัดออกซิเจนส้าหรับเพาะเลี้ยงสัตว์น้้า แอปพลิเคชั่นการเลี้ยงปลาเพื่อเฝ้าติดตามการเพาะเลี้ยงสัตว์น้้า Platform ระบบบริหารจัดการข้อมูลแบบรวมศูนย์ผ่านระบบ Cloud Server รวมทั้งการศึกษาระบบส้ารองพลังงานในรูปแบบต่างๆ เช่น การใช้แบตเตอรี่และการใช้ระบบอากาศอัดจากพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อลดความเสี่ยงในการเพาะเลี้ยงจากปัญหาไฟฟ้าดับ จากประสบการณ์ดังกล่าวท้าให้คณะผู้วิจัยมีความเชื่อมั่นว่าจะสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีที่มีและสามารถผลักดันให้ชุมชนที่เข้าร่วมโครงการให้กลายเป็นชุมชนต้นแบบรวมทั้งสร้างนวัตกรต้นแบบของชุมชนที่จะช่วยขับเคลื่อนให้ชุมชนกลายเป็นต้นแบบที่ดีหรือ Role Model ให้กับชุมชนอื่นๆ ได้

ส้าหรับแนวคิดในการด้าเนินโครงการวิจัยประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 การติดตั้งต้นแบบนวัตกรรมและเทคโนโลยี โดยกระบวนการสร้างนวัตกรรมต้นแบบระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์และระบบบริหารจัดการแบบสมาร์ทฟาร์มให้เหมาะสมกับพื้นที่ที่เข้าร่วมโครงการ และส่วนที่ 2 การถ่ายทอดองค์ความรู้เพื่อสร้างชุมชนต้นแบบและนวัตกรต้นแบบและเผยแพร่องค์ความรู้สู่เกษตรกรในชุมชนต้นแบบ หลังจากโครงการวิจัยด้าเนินการเสร็จสิ้นแล้ว นวัตกรผู้ใช้ประโยชน์และผู้ดูแลพื้นที่ถ่ายทอดเทคโนโลยีต้นแบบสามารถด้าเนินงานเองได้ อย่างไรก็ตามคณะผู้วิจัยยังด้าเนินการเป็นพี่เลี้ยงคอยให้ค้าปรึกษาเมื่อเกิดปัญหาในการถ่ายทอดองค์ความรู้

คำสำคัญ : การเพาะเลี้ยงสัตว์น้้า ชุมชน เทคโนโลยีพลังงานทดแทน ระบบบริหารจัดการแบบสมาร์ทฟาร์ม
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Encouragement of Aquaculture Green Community by Renewable Energy Technology and Smart Farming Management System
Abstract :

This research project aims to transfer knowledge on the use of renewable energy technology incorporated with the smart farm management to aquaculture farmers through innovative prototype transfer as well as establishing the example community which applies renewable energy technologies and smart farm management principles to reduce the cost of energy and hence increase the income. Based on our previous research experiences at School of Renewable Energy, Maejo University, we have been funded for three consecutive times from the National Research Office (NRCT) started from 2016-2018 under the project of Initiative of a green community of smart fish farming to reduce fossil fuel utilization: Case study at Tungyao community, Amphur Sansai, Chiang Mai province and in 2020 under the project of Encouragement of Green Community of Smart Fish Farming in Chiang Mai Province for Fossil Fuel Reducing. It can be demonstrated that our projects, where solar PV system was integrated into the aeration systems, can help minimizing the energy cost. The use of developed smart farm management systems, such as the environmental and the oxygen monitoring system, the fish farming application and the cloud sever of data managing system, were also played a major role in cost and energy management of fish farming. Various types of energy storage systems such as battery and solar-compressed air system have been investigated in more detail by our team in order to reduce the risk of power outages. Therefore, we have a strong confidence that existing knowledge and technology can be effectively transferred to farmers and communities where new community innovators arise to become a role model to others.

The concept of the research project consists of 2 steps: The first one is related to the installation of innovative technological prototypes where a prototype solar power generation system and smart farm management system will be constructed to match the participating areas. The second step is about the knowledge transfer. This step will emphasize on the creation of a model community prototype innovators and knowledge transfer to farmers in the community. The sustainability of the project will be the main priority where local innovators and users of the technology can transfer the knowledge to others but the research team, however, will act as mentors which will support the information for troubleshooting the system.

Keyword : Aquaculture, Community, Renewable Energy Technology and Smart Farming Management System
รูปแบบงานวิจัย : งานวิจัยเชิงคุณภาพ
ประเภทงานวิจัย : การวิจัยประยุกต์
สาขางานวิจัย : สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : กิจกรรมด้านการวิจัย
Road map : Green
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สราวุธ พลวงษ์ศรี
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ผู้วิจัยหลัก
(2565)
35 นักวิจัยรุ่นเก่า
2 รองศาสตราจารย์ ดร.ชวโรจน์ ใจสิน
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ผู้วิจัยร่วม
25 นักวิจัยรุ่นเก่า
3 รองศาสตราจารย์ ดร.อัครินทร์ อินทนิเวศน์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ผู้วิจัยร่วม
15 นักวิจัยรุ่นเก่า
4 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุลักษณา มงคล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ผู้วิจัยร่วม
15 นักวิจัยรุ่นเก่า
5 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธงชัย มณีชูเกตุ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ผู้วิจัยร่วม
10 นักวิจัยรุ่นเก่า
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2565
1/10/2564 ถึง 30/9/2565
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายนอกสถาบัน งานวิจัยระดับชาติ
แหล่งทุนสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
500,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 500,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023