การปรับปรุงวิธีการสกัดจีโนมิคดีเอ็นเอจากใบของต้นรวงผึ้ง

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : -- ไม่ระบุ --
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การปรับปรุงวิธีการสกัดจีโนมิคดีเอ็นเอจากใบของต้นรวงผึ้ง
บทคัดย่อ :

วิธีการสกัดจีโนมิกส์ดีเอ็นเอ ของพืชแต่ละชนิดมีหลายวิธีที่เหมาะสมต่อการนำมาศึกษาความหลากหลายทาง

พันธุกรรมระดับโมเลกุล อย่างไรก็ตามการมีอยู่ของสารประกอบที่ไม่พึงประสงค์ เช่น โพลีฟีนอลและโพลีแซ็กคาไรด์จะทำ

ให้เพิ่มความหนืดของตัวอย่างและลดคุณภาพของดีเอ็นเอ ซึ่งจะไปรบกวนการทำปฏิกิริยา PCR ดังนั้นวิธีการสกัดดีเอ็นเอ

ที่เหมาะสมและรวดเร็วจึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง ในการศึกษานี้ได้ทำการประเมินคุณภาพและปริมาณของจีโนมิกส์ดีเอ็นเอ

ที่สกัดจากใบของรวงผึ้ง (Schoutenia glomerata King subsp. peregrina (Craib) Roekm. & Hartono) หลังการทำ

ให้เนื้อเยื่อเยือกแข็งและการบ่มร่วมกับโพลิวินิลไพโรลิโดน (PVP) จากนั้นได้ปรับปรุงวิธีดีเอ็นเอด้วย CTAB โดยเพิ่ม

ระยะเวลาในการบ่มตัวอย่าง ผลการศึกษาแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพและความน่าเชื่อถือของวิธีการที่ดัดแปลงเ มื่อ

เปรียบเทียบกับวิธีการเดิม ซึ่งบ่งชี้ว่าการผสมผสานของการทำแห้งแบบเยือกแข็งและ PVP ช่วยปรับปรุงคุณภาพและ

ปริมาณของดีเอ็นเอที่สกัดจากใบรวงผึ้ง

คำสำคัญ : ความหลากหลายทางพันธุกรรม ต้นรวงผึ้ง ลายพิมพ์ดีเอ็นเอ การสกัดดีเอ็นเอ
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title :
Abstract :
Keyword :
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ดร.รัฐพร จันทร์เดช
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2565)
70 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปารวี กาญจนประโชติ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
3 อาจารย์ ดร.ทิพย์สุดา ตั้งตระกูล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
4 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เยาวนิตย์ ธาราฉาย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2565
1/10/2564 ถึง 30/9/2565
ประเภทแหล่งทุน : ทุนส่วนตัว ส่วนตัวของผู้วิจัย
0.00
   รวมจำนวนเงิน : 0.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
25 ธันวาคม 2564
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
ฉบับที่ : 27
หน้า :
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร :
0.2
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023