แนวทางการใช้ประโยชน์จากปลิงทะเลร่วมกับสาหร่ายโพรงในการจัดการของเสีย ภายในระบบหมุนเวียนเพื่อเลี้ยงหอยหวานเชิงพาณิชย์

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-53-038
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2552 ถึง 30 กันยายน 2553
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : แนวทางการใช้ประโยชน์จากปลิงทะเลร่วมกับสาหร่ายโพรงในการจัดการของเสีย ภายในระบบหมุนเวียนเพื่อเลี้ยงหอยหวานเชิงพาณิชย์
บทคัดย่อ :

แนวทางการใช้ประโยชน์จากปลิงทะเลร่วมกับสาหร่ายโพรงในการจัดการของเสียภายในระบบหมุนเวียนเพื่อเลี้ยงหอยหวานเชิงพานณิชน์ ทำการเลี้ยงฟอยหวานเป็นระยะ 6 เดือน พบว่า หอยหวานมีน้ำหนักเฉลี่ยในชุดการทดลองที่ 1 2 และ 3 ดังนี้ 4.15(-,+0.117),5.20(-,+0.716 ) และ 5.17 (-,+0.724) กรัม ตามลำดับ ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(P>0.05) และ พบว่าหอยหวานชึดที่ 1 เลี้ยงหหอยหววานในระบบเปิด (ชุดควบคุม) มีอัตราการเจริญเติบโตต่ำกว่า ชุดการทดลองอื่นๆ อย่างมีนับสำคัญ (P<0.05) อัตราการรอดตายของหอยหวานพบว่าทั้งสามชุดการทดลองไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ส่วนการเจริญเติบโตของสาหร่ายโพรง และ ปลิงทะเลเป็นลักษณะถอถอย เกิดการตายของปลิงทะเลและสาหร่ายโพรง ด้านคุณภาพทรายพื้นบ่อเลี้ยงหอยหวานทั้งสามชุดการทดลอง พบว่า ปริมาณอินทรีวัตถุ,ไนโตรเจนรวม และ ฟอสฟอรัสรวม ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เนื่องจากมีการตายของปลิงทะเล คุณภาพน้ำในการเลี้ยงหอยหวาน พบว่าทุกปัจจัยอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม ยกเว้น ปริมาณไนโตรท์ที่มีปริมาณสูงเกินเกณฑ์มาตรฐาน

คำสำคัญ : ปลิงทะเล , สาหร่ายโพรง , การจัดการ , ของเสีย , ระบบหมุนเวียน , การเลี้ยง และหอยหวาน
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : ) Utilization trend from Sea Cucumber (Holuthuria sp.)and Marine Algae (Solieria sp.) in Waste Matter Managment within Water Recirculating System for Commercial Aquaculture of Spotted Babylon (Babylonia areolata)
Abstract :

Utilization trend from Sea Cucumber (Holuthuria sp.) and marine Algae(solieria sp.) in waste Matter Management within Water Recirculating System for Commercial Aquaculture of Spotted Babylon were though the culture for a period of 6 months.It was found that Spotted Babylon had average weights at treatment 1 st, 2nd and 3 th has 4.15(-,+0.117),5.20(-,+0.716 ) and 5.17 (-,+0.724) grams respectively with no significant differences(p>0.05). Beside,it found that treatment 1 st for spotted Babylon culture in open system (control treatment) had growth rate lower than with the other treatments with significant (p<0.05). The survival rate of spotted Babylon found that every treatments with no significant different. (p>0.05).Besides growth rate of sea cucumber and Marine Algae were regression because there were die. A field sand bottom quality every treatments found that Organic matter, total nitrogen and total phosphorus with no significant different(p>0.05) because the sea cucumber and the Marine Algae were die. Water quality of spotted Babylon culture found that every factors with significant different,expect for quantity of nitrite was higher than the standards of optimum to aquatic animals culture.

Keyword : Sea Cucumber, Holuthuria sp., Solieria sp., Management, Waste Matter, Recirculating System, Aquaculture, Spotted Babylon and Babylonia areolata
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : การวิจัยประยุกต์
สาขางานวิจัย : สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลวรรณ ศุภวิญญู
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร
ผู้วิจัยหลัก
(2553)
60 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุทธนา สว่างอารมย์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร
ผู้วิจัยร่วม
15 ไม่ระบุ
3 อภิญญา ปานโชติ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด :
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
4 นางณิชาพล บัวทอง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร / สำนักงานคณบดีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร / งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2553
1/6/2553 ถึง 31/5/2554
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
120,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 120,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023