07653 : โครงการเศรษฐศาสตร์รักษ์น้ำรักษ์ป่า
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2559
อาจารย์ ดร.พิมพิมล แก้วมณี (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 23/3/2559 14:36:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
11/04/2559  ถึง  11/04/2559
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  45  คน
รายละเอียด  นักศึกษาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 จำนวน 40 คน อาจารย์คณะเศรษฐศาสตร์ จำนวน 5 คน
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะเศรษฐศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานการเรียนการสอน งานสนับสนุนการจัดการศึกษา กองทุนกิจการนักศึกษา งบเงินอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป (ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2) 2559 7,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. พิมพิมล  แก้วมณี
รองศาสตราจารย์ ดร. รภัสสรณ์  คงธนจารุอนันต์
รองศาสตราจารย์ ดร. นิศาชล  ลีรัตนากร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชนิตา  พันธุ์มณี
รองศาสตราจารย์ ดร. อารีย์  เชื้อเมืองพาน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี  สิงหะวาระ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเศรษฐศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการสนองงานโครงการในพระราชดำริ
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2559 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 59MJU5 การดำรงศิลปวัฒนธรรมและรักษาระบบนิเวศของทรัพยากรธรรมชาติ
เป้าประสงค์ 59MJU5.1 เป็นแหล่งเรียนรู้วัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมเกษตร และระบบนิเวศ
ตัวชี้วัด 59MJU5.06 ระบบและกลไกในการทำนุบำรุงศิลปและวัฒนธรรม
กลยุทธ์ 59MJU5.1.1 พัฒนากระบวนการบูรณาการร่วมกับชุมชนและท้องถิ่น
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2559] ประเด็นยุทธศาสตร์ 59ECON-2 บัณฑิตมีคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ ดี เก่ง และมีความสุข
เป้าประสงค์ 59ECON 2.1 นักศึกษาและศิษย์เก่ามีศักยภาพและทักษะในการดำเนินชีวิตตามคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์
ตัวชี้วัด 59ECON 2.1 ร้อยละความสำเร็จของตัวชี้วัดโครงการด้านนักศึกษาและศิษย์เก่า
กลยุทธ์ 59ECON 2.1.5 ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียนด้านบำเพ็ญประโยชน์ หรือรักษาสิ่งแวดล้อม
กลยุทธ์ 59ECON 2.1.9 ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์เศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy)
ตัวชี้วัด 59ECON 2.2 ร้อยละความสำเร็จของแผนพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่า
กลยุทธ์ 59ECON 2.1.5 ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียนด้านบำเพ็ญประโยชน์ หรือรักษาสิ่งแวดล้อม
กลยุทธ์ 59ECON 2.1.9 ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์เศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy)
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

โครงการเศรษฐศาสตร์อาสารักษ์ป่ารักษ์น้ำนี้ เกิดจากแนวคิดที่ว่า “ฝายชะลอน้ำ” เป็นเครื่องมือที่ช่วย ลดความสูญเสียจากปัญหาน้ำท่วม และเพิ่มความชุ่มชื่นให้ผืนป่า กอปรกับจากได้ทำงานวิจัยร่วมกับโครงการขยายผลโครงการหลวงแม่สลอง อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย ว่าในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโครงการขยายผลฯ นั้นมีพื้นที่ขนาดใหญ่และมี "ฝายชะลอน้ำ" จำนวนมากที่ต้องการการซ่อมแซมปรับปรุงให้สามารถใช้งานได้ดีเพื่อ เพิ่มแหล่งกักเก็บน้ำ ให้ผืนป่า เพิ่มความชุ่มชื้นให้ผืนป่ามากขึ้น “ฝายชะลอน้ำ” หรือฝายแม้ว เป็นแนวคิดการพื้นฟูผืนป่าตามแนวพระราชดำริในการจัดการฟื้นฟูผืนป่าโดยการ เพิ่มความชุ่มชื้นให้แก่ผืนป่า และชะลอการไหลของน้ำ ให้ไหลช้าลง ลดการสูญเสีย เพื่อให้ชุมชนมีการอนุรักษ์ ฟื่นฟูและเสริมประสิทธิภาพในการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและพัฒนาการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนระหว่างนักศึกษาและประชาชนในพื้นที่ อันจะเป็นประโยชน์ทั้งต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิถีชีวิตของชาวไทยภูเขา การปลูกฝังแนวคิดอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนจิตสำนึกสาธารณะ อันจะเป็นพื้นฐานที่ดีของการผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรม จริยธรรม ต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้นักศึกษาเศรษฐศาสตร์ชั้นปีที่ 3 มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และตระหนักถึงคุณค่าของทรัพยากรในแหล่งต้นน้ำ
เพื่อให้นักศึกษาเศรษฐศาสตร์ชั้นปีที่ 3 ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
เพื่อเรียนรู้แนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : 1. นักศึกษาได้ร่วมดำเนินการกิจกรรมเพื่อเรียนรู้ วิถีชีวิตชุมชน และรักษาระบบนิเวศของทรัพยากรธรรมชาติ อย่างน้อย 40 คน 2. ฝายชะลอน้ำของบ้านอาแบบ ตำบลแม่สลองนอก อำเภอแม่สลอง จังหวัดเชียงราย
KPI 1 : จำนวนนักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 2 : ฝายชะลอน้ำของบ้านอาแบ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ฝาย 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : 1. นักศึกษาได้ร่วมดำเนินการกิจกรรมเพื่อเรียนรู้ วิถีชีวิตชุมชน และรักษาระบบนิเวศของทรัพยากรธรรมชาติ อย่างน้อย 40 คน 2. ฝายชะลอน้ำของบ้านอาแบบ ตำบลแม่สลองนอก อำเภอแม่สลอง จังหวัดเชียงราย
ชื่อกิจกรรม :
สร้างฝายชะลอน้ำบ้านอาแบ ตำบลแม่สลองนอก อำเภอแม่สลอง จังหวัดเชียงราย

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 11/04/2559 - 11/04/2559
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.พิมพิมล  แก้วมณี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถสองแถวจำนวน 5 คัน คันละ 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวันของนักศึกษา จำนวน 40 คน คนละ 35 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างของนักศึกษา จำนวน 40 คน คนละ 15 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 7000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล