22721 : โครงการบรรยายพิเศษและแลกเปลี่ยนเรียนรู้: ผู้สูงวัย ความผาสุก และการดูแลผู้สูงวัยด้วยเป็นมิตร
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จริยาพร ศรีสว่าง (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 26/11/2567 11:45:09
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
29/11/2567  ถึง  29/11/2567
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  63  คน
รายละเอียด   กลุ่มเป้าหมายจำนวน 63 คน ประกอบด้วย 1. ผู้บริหาร คณาจารย์และบุคลากร จำนวน 12 คน 2 นักศึกษาชั้นปีที่ 2 จำนวน 51 คน
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะพยาบาลศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานยุทธศาสตร์ ผลผลิต : ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ แผนงานการเรียนการสอน งานจัดการศึกษาสาขาพยาบาล กองทุนเพื่อการศึกษา เงินอุดหนุนทั่วไป โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 3) โครงการบรรยายพิเศษและแลกเปลี่ยนเรียนรู้: ผู้สูงวัย ความผาสุก และการดูแลผู้สูงวัยด้วยเป็นมิตร 2568 7,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จริยาพร  ศรีสว่าง
รองศาสตราจารย์ สิริรัตน์  จันทรมะโน
อาจารย์ สุรัช  สุนันตา
อาจารย์ อัณณ์ณิชา  วุฒิกุล
นาง รัตนา  กันตีโรจน์
น.ส. ศกุนตลา  จินดา
นาย ศักดิ์นรินทร์  แก่นกล้า
น.ส. สาวิตรี  ทิพนี
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
นาง มาลี  ล้วนแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะพยาบาลศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
นโยบายด้านบุคลากร
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68 MJU 1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68 MJU 1.1.4 ผลการจัดอันดับ SDG Impact Ranking (Eco. University)
กลยุทธ์ 68 MJU 1.1.4.1 ผลักดันการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยและผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยเพื่อตอบโจทย์เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในส่วนที่เกี่ยวข้อง
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 3. การขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ (International)
เป้าประสงค์ 68 MJU 3.1 ความสำเร็จในการขับเคลื่อนการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 68 MJU 3.1.3 จำนวนอาจารย์/นักวิจัยแลกเปลี่ยน หรือบุคลากรชาวต่างชาติ (Inbound/Outbound)
กลยุทธ์ 68 MJU 3.1.3.1 เพิ่มจำนวนคณาจารย์และนักวิจัยแลกเปลี่ยนกับต่างชาติ (Visiting Professor) ทั้ง Inbound และ Outbound
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก MOC
เป้าประสงค์ พยบ68-2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด พยบ68-2.1.5 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21  (mju 2.1.9)
กลยุทธ์ พยบ68-2.1.5.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
เป้าประสงค์ พยบ68-2.5 มีการบริหารจัดการองค์กรและทรัพยากรมนุษย์ที่มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด พยบ68-2.5.3 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตนเอง (mju 2.5.3)
กลยุทธ์ พยบ68-2.5.2 สนับสนุนบุคลากรทุกคนได้รับการพัฒนาสมรรถนะตาม Training Roadmap ของแต่ละตำแหน่ง ให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานหรือสูงกว่าที่มาตรฐานกำหนด
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 3 การขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ (International)
เป้าประสงค์ พยบ68-3.1 ความสำเร็จในการขับเคลื่อนการดำเนินงานของมหาวิทยาลัย/คณะ ในระดับชุมชน/นานาชาติ
ตัวชี้วัด พยบ68-3.1.2 จำนวนอาจารย์/นักวิจัยแลกเปลี่ยน หรือบุคลากรชาวต่างชาติ (Inbound/Outbound) (mju 3.1.3)
กลยุทธ์ พยบ68-3.1.2 เพิ่มจำนวนคณาจารย์และนักวิจัยแลกเปลี่ยนกับต่างชาติ (Visiting Professor) ทั้ง Inbound และ Outbound
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 1 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ พยบ68-1.1 เป็นมหาวิทยาลัย/คณะ ที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด พยบ68-1.1.2 ผลการจัดอันดับ SDG Impact Ranking (Eco. University) (mju 1.1.4)
กลยุทธ์ พยบ68-1.1.2 สนับสนุนและขับเคลื่อนการดำเนินงานคณะและผลงานการให้บริการวิชาการของคณะเพื่อตอบโจทย์เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในส่วนที่เกี่ยวข้อง
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมสูงอายุ (Aging Society) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 ตามคำนิยามขององค์การสหประชาชาติที่กำหนดสัดส่วนของประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศ ซึ่งจะเข้าสู่สังคมสูงอายุโดยสมบูรณ์ (Complete - Aging Society) เมื่อมีสัดส่วนของประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปเกินร้อยละ 20 และเข้าสู่สังคมสูงอายุระดับสุดยอด (Super- Aging Society) เมื่อมีสัดส่วนของประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปเกินร้อยละ 28 ตามลำดับ สำหรับสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย ในปี พ.ศ. 2565 ประเทศไทยมีประชากรผู้สูงอายุสูงถึงร้อยละ 18.3 ของประชากรทั้งประเทศ และมีแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของประชากรผู้สูงอายุร้อยละ 3.6 ต่อปี (คิดเป็น 400,000 คนต่อปี) ซึ่งตามการคาดประมาณการประชากรประเทศไทยของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2562) คาดการณ์ว่า ในปี พ.ศ. 2566 จะมีประชากรผู้สูงอายุสูงถึงร้อยละ 20.66 ของประชากรทั้งประเทศ และคาดว่าในปี พ.ศ. 2578 จะมีประชากรผู้สูงอายุสูงถึงร้อยละ 28.55 ของประชากรทั้งประเทศ ทั้งนี้ การเตรียมการเพื่อรองรับสถานการณ์สังคมสูงอายุจึงเป็นประเด็นที่สำคัญ เนื่องจากผู้สูงอายุเป็นกลุ่มเสี่ยงด้านสุขภาพ ซึ่งกระทบต่องบประมาณด้านการรักษาพยาบาล โดยสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย ได้คาดประมาณการด้านงบประมาณในการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง เฉลี่ยประมาณ 15,000 ล้านบาทต่อปี ดังนั้น การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์จึงเป็นประเด็นสำคัญ เพื่อลดภาระด้านเศรษฐกิจของประเทศ สังคม และครอบครัว ประเทศไทยมีเป้าหมายการพัฒนาประเทศ ตามยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๗๙) ที่ต้องการให้ประเทศบรรลุวิสัยทัศน์คือ “มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”เพื่อความสุขของคนไทยทุกคน โดยมีประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 เกี่ยวกับการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ เพื่อคนไทยในอนาคตจะต้องมีความพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจ สติปัญญา มีพัฒนาการดีรอบด้าน รวมถึงการมีสุขภาวะที่ดีทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะรับผิดขอบต่อสังคมและผู้อื่น และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดที่ถูกต้อง มีทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ ซึ่งมีความจำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ มีนิสัยรักการเรียนรู้ และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการยุคใหม่โดยสัมมาชีพตามความถนัดของตนเอง มีการกําหนดนโยบายด้านการศึกษา ในการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในชั้นเรียน สร้างปฏิสัมพันธ์ ระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน มุ่งให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ โดยมีครูเป็นผู้อำนวยความสะดวก สร้างแรงบันดาลใจ ให้คำปรึกษาดูแลเป็นโค้ชและพี่เลี้ยง แสวงหาเทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย เรียนรู้อย่างมีความหมาย เกิดความรู้ความข้าใจในตนเอง ใช้สติปัญญาคิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์ผลงานวัตกรรม ที่บ่งบอกถึงการมีสมรรถนะสำคัญในศตวรรษที่ ๒๑ มีทักษะวิชาการ ทักษะชีวิต และทักษะวิชาชีพ ที่บรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ตามระดับช่วงวัย คณะพยาบาลศาสตร์ภายใต้การดำเนินตามปรัชญา วิสัยทัศน์และพันธกิจ ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้เห็นความสำคัญของการพัฒนาบุคลากรด้านการจัดการศึกษาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ หรือสมรรถนะบุคลากรตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ในมิติที่ 3 ด้านการขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติตามกรอบทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้และคณะพยาบาลศาสตร์ เพื่อการพัฒนาด้านวิชาการ และการวิจัย สร้างผลงานสู่ระดับสากล ตลอดจนส่งเสริมและพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษสำหรับนักศึกษา สู่บัณฑิตที่พึงประสงค์ตามต้องการของตลาดแรงงานสากล การสอดรับกับพันธกิจและอัตลักษณ์ด้านการพยาบาล ที่ส่งเสริมการบูรณาการศาสตร์เกษตรด้านอาหารเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ จึงเกิดโครงการ “การบรรยายพิเศษและแลกเปลี่ยนเรียนรู้: ผู้สูงวัย ความผาสุก และการดูแลผู้สูงวัยด้วยเป็นมิตร ขึ้นเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กร วิชาชีพ และประเทศโดยมีความสอดคล้องเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570) แผนการปฏิรูปประเทศ นโยบายรัฐบาล แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ รวมทั้งบริบทการเปลี่ยนแปลงทางด้านต่างๆ ที่มีผลต่อการส่งเสริมสุขภาพของประเทศไทย ได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1.เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาการกับนักวิชาการในสถาบันการศึกษาต่างประเทศ
2. เพื่อส่งเสริมทักษะทางด้านภาษาต่างประเทศแก่บุคลากร/นักศึกษา
3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และได้แนวคิดด้านผู้สูงอายุ และการดูแลผู้สูงอายุ
4.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการทราบแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อการทำงานระดับนานาชาติด้านผู้สูงอายุ และการดูแลผู้สูงอายุ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมโครงการได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ แนวคิดเกี่ยวกับผู้สูงอายุ การดูแลผู้สูงอายุ การเตรียมความพร้อมเพื่อการทำงานระดับนานาชาติกับนักวิชาการในสถาบันการศึกษาต่างประเทศ
KPI 1 : ร้อยละผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และได้แนวคิดด้านผู้สูงอายุ และการดูแลผู้สูงอายุ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละผู้เข้าร่วมโครงการได้แลกเปลี่ยนทางวิชาการกับนักวิชาการในสถาบันการศึกษาต่างประเทศ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการได้ฝึกทักษะการฟังภาษาต่างประเทศ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละผู้เข้าร่วมโครงการตามเป้าหมายไม่น้อยกว่า
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละผู้เข้าร่วมโครงการได้แนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อการทำงานระดับนานาชาติด้านผู้สูงอายุ และการดูแลผู้สูงอายุ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการในภาพรวม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมโครงการได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ แนวคิดเกี่ยวกับผู้สูงอายุ การดูแลผู้สูงอายุ การเตรียมความพร้อมเพื่อการทำงานระดับนานาชาติกับนักวิชาการในสถาบันการศึกษาต่างประเทศ
ชื่อกิจกรรม :
จัดโครงการบรรยายพิเศษและแลกเปลี่ยนเรียนรู้: ผู้สูงวัย ความผาสุก และการดูแลผู้สูงวัยด้วยเป็นมิตร
(The Special Lecture and Conference: Age, Happiness, and Elder Care with Consideration in Age-friendly)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 29/11/2567 - 29/11/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จริยาพร  ศรีสว่าง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์สิริรัตน์  จันทรมะโน (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์สุรัช  สุนันตา (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์อัณณ์ณิชา  วุฒิกุล (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางรัตนา  กันตีโรจน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.ศกุนตลา  จินดา (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายศักดิ์นรินทร์  แก่นกล้า (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.สาวิตรี  ทิพนี (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 63 คน 1 มื้อๆละ 50 บาท เป็นเงิน 3,150 บาท
- ค่าจ้างเหมาพนักงานขับรถ 1 คน 1 วัน ๆ ละ 300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
3,450.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,450.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
-ค่าตอบแทนวิทยากรบรรยายพิเศษ จำนวน 1 คน 2 ชั่วโมง ๆละ 1,200 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
2,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
1,150.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,150.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 7000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล