22242 : โครงการงานดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ 47
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.เมริษา ยอดหอม (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 16/10/2567 11:09:42
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา (เบิกจ่ายจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2567  ถึง  30/11/2567
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  20  คน
รายละเอียด  นักศึกษา บุคลากร
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณจากแหล่งอื่น กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม 2568 2,000.00
งบประมาณเงินรายได้ กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบพัฒนานักศึกษา ประจำปี 2568 2568 15,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย วุฒิภัทร  เกตุพัฒนพล
น.ส. วีนาภัทร์  พงษ์ภา
น.ส. เมริษา  ยอดหอม
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
นาง กัณณิกา  ข้ามสี่
รองศาสตราจารย์ ดร. นิโรจน์  สินณรงค์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.4 เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมเกษตรและสิ่งแวดล้อม และสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านทุนทางวัฒนธรรม
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.4.2 จำนวนโครงการ/กิจกรรมด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่สอดคล้องหรือตอบโจทย์ยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 68 MJU 2.4.2.1 พัฒนาแผนและกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยและการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-3. สร้างเครือข่ายความร่วมมือทางด้านศิลปวัฒธรรม และวัฒนธรรมการเกษตร
เป้าประสงค์ 68-3.1 ความร่วมมือของเครือข่ายด้านศิลปวัฒธรรม และวัฒนธรรมการเกษตรในการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ วิจัยและบริการวิชาการ
ตัวชี้วัด 68-3.1 จำนวนเครือข่ายความร่วมมือด้านด้านศาสนา ศิลปวัฒธรรม และวัฒนธรรมการเกษตร
กลยุทธ์ 68-3.1 สร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านศิลปวัฒนธรรม และวัฒนธรรมการเกษตร ทั้งในระดับท้องถิ่น ชาติ และนานาชาติ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ดนตรีไทย ถือเป็นมรดกศิลปวัฒนธรรมที่ล้ำค่า เกิดจากการสั่งสมภูมิปัญญามาช้านาน สืบทอดและพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่อดีตกาลจวบจนปัจจุบัน ดนตรีไทยมีเอกลักษณ์แสดงถึงความประณีตและความละเมียดละไมในการกลั่นกรอง คิดค้นคำร้อง ทำนองอันลึกซึ้งหลากหลายของครูเพลงแล้วยังสะท้อนให้เห็นถึงการทุ่มเทกายใจ ความสมัครสมานสามัคคี ในการแสดงออกซึ่งความสามารถของนักดนตรี เพื่อถ่ายทอดเนื้อร้องและท่วงทำนองเพลงอันไพเราะผ่านเครื่องดนตรีไทยได้อย่างลงตัว แสดงถึงคุณค่าแห่งสุนทรียะศาสตร์ของดนตรีไทย ทำให้ทุกชาติทุกภาษาต่างยอมรับว่าเป็นศิลปวัฒนธรรมที่เป็นอัตลักษณ์อันโดดเด่น บ่งบอกถึงความเป็นชาติที่มีความเจริญงอกงามตามแบบวิถีไทย สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ จิจัยและนวัตกรรม ร่วมกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่และสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม จัดงานดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ ๔7 ขึ้น ซึ่งนับเป็นพระมหากรุณาธิคุณที่สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงรับเชิญเสด็จพระราชดำเนินทรงเป็นประธานเปิดงานดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ ๔7 “ปฐมพิสุทธิ์สังคีต ชื่นชุมนุมกลุ่มดนตรี เฉลิม ๖๐ ปี คชภูมิภิวัฒน์” ระหว่างวันที่ 26–29 พฤศจิกายน 2567 ณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ การจัดงานดนตรีไทยอุดมศึกษาที่ผ่านมา ได้สนับสนุน ส่งเสริม ให้นักศึกษาได้แสดงออกถึงความสามารถในด้านดนตรีไทยและเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ด้านวัฒนธรรมดนตรีแต่ละภูมิภาคจากสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน ทั้งเป็นการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมด้านดนตรีไทยให้แพร่หลายในกลุ่มเยาวชน นักศึกษา บุคลากรที่เกี่ยวข้องด้านดนตรีไทย เพื่อให้ศิลปะดนตรีไทยดำรงอยู่คู่ความเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย โดย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ให้ความร่วมมือและเข้าร่วมกับประชาคมดนตรีไทยอุดมศึกษาด้วยดีมาตลอด ดังนั้นมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จึงเข้าร่วมงานดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ ๔7 ในครั้งนี้ด้วย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษา ครูเพลง และผู้มีใจรักดนตรีไทยได้มีเวทีในการแสดงฝีมือและทักษะด้านดนตรีไทยให้ปรากฏต่อสายตาประชาคม ชาวอุดมศึกษาและผู้สนใจทั่วไป
เพื่อให้บุคลากรและนักศึกษา แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ทางด้านดนตรีไทย
เพื่อให้มีส่วนร่วมอนุรักษ์ สืบสานวัฒนธรรมของชาติให้สืบทอดต่อไปให้คงอยู่คู่สังคมไทยและเป็นเอกลักษณ์ของชาติให้คงอยู่ตลอดไป
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการงานดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ 47
KPI 1 : จำนวนองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมด้านการแสดงดนตรีไทย
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 องค์ความรู้ 1
KPI 2 : ระดับความสำเร็จในการฝึกฝนทักษะด้านดนตรีไทย และสามารถเผยแพร่การแสดงฝีมือและทักษะด้านดนตรีไทยได้
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 ระดับ 3
KPI 3 : จำนวนเครือข่ายสถาบันดุดมศึกษาที่เข้าร่วมงาน ตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่47
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 สถาบัน 30
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการงานดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ 47
ชื่อกิจกรรม :
โครงการงานดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ 47

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2567 - 30/11/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายวุฒิภัทร  เกตุพัฒนพล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.วีนาภัทร์  พงษ์ภา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.เมริษา  ยอดหอม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
น้ำมันเชื้อเพลิง (ไป-กลับ) มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
2,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
วัสดุเครื่องดนตรี
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารนักศึกษา วันฝึกซ้อม ระหว่างวันที่ 1 - 25 พ.ย. 67 (มื้อเย็น) วันละ 20 คนๆละ 50 บาท จำนวน 10 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
10,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 17000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล