21918 : โครงการบรรยายพิเศษและแลกเปลี่ยนเรียนรู้: ผลกระทบของเทคโนโลยีอาหารและนวัตกรรมต่อภาวะโภชนาการและสุขภาพ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จริยาพร ศรีสว่าง (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 4/9/2567 14:25:53
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
09/09/2567  ถึง  09/09/2567
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  67  คน
รายละเอียด  1.ที่ปรึกษาคณบดี จำนวน 1 คน 2.วิทยากรบรรยายพิเศษ จำนวน 1 คน 3.บุคคลภายนอก จำนวน 1 คน 4. คณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ 5.คณาจารย์ จำนวน 8 คน 6.บุคลากรสายสนับสนุน จำนวน 4 คน 7.นักศึกษาพยาบาล ชั้นปีที่ 2 จำนวน 51 คน **ภายนอก 3 คน ภายใน 13 คน นักศึกษา 51 คน รวมทั้งสิ้น 67 คน
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะพยาบาลศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานรอง : แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ผลผลิต : ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ กิจกรรมหลัก จัดการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ แผนงานการเรียนการสอน งานจัดการศึกษาสาขาพยาบาล กองทุนเพื่อการศึกษา งบเงินอุดหนุน โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2) โครงการบรรยายพิเศษและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ : ผลกระทบของเทคโนโลยีอาหารและนวัตกรรมต่อภาวะโภชนาการและสุขภาพ 2567 4,745.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จริยาพร  ศรีสว่าง
อาจารย์ บุษกร  ยอดทราย
อาจารย์ อมรเลิศ  พันธ์วัตร์
อาจารย์ สุรัช  สุนันตา
อาจารย์ ศุภวรรณ  ใจบุญ
นาง รัตนา  กันตีโรจน์
น.ส. ศกุนตลา  จินดา
นาย ศักดิ์นรินทร์  แก่นกล้า
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
นาง มาลี  ล้วนแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะพยาบาลศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 1.2 ความสำเร็จของการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (GO. Eco U.)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 1.2.1 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 1.2.1.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรม รวมทั้งติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริม อัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.2 มีผลงานวิจัยและนวัตกรรม ที่ใช้เกษตรเป็นรากฐาน และได้รับการยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.2.1 จำนวนเงินวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.2.1.1 ผลักดันการวิจัยตามแผนแม่บทการวิจัยระยะ 15 ปี ที่สอดคล้อง กับทิศทางม.และของชาติ
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.5 มีระบบการบริหารจัดการองค์กรที่มีสมรรถนะสูง (High Performance Organization)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.5.2 ร้อยละของบุคลากรที่มีผลการประเมินสมรรถนะตามมาตรฐานหรือสูงกว่ามาตรฐาน
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.5.2.1 สนับสนุนบุคลากรทุกคนได้รับการพัฒนาสมรรถนะตาม Training Roadmap ของแต่ละตำแหน่ง ให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานหรือสูงกว่าที่มาตรฐานกำหนด
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 3. การขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ (International)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 3.1 ความสำเร็จในการขับเคลื่อนการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 3.1.3 จำนวนอาจารย์/นักวิจัยแลกเปลี่ยน หรือบุคลากรชาวต่างชาติ (Inbound/Outbound)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 3.1.3.1 เพิ่มจำนวนคณาจารย์และนักวิจัยแลกเปลี่ยนกับต่างชาติ (Visiting Professor) ทั้ง Inbound และ Outbound
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 3.1.4 จำนวนนักศึกษาแลกเปลี่ยนทุกระดับ ทุกหลักสูตร หรือผู้เข้ารับการฝึกอบรมชาวต่างชาติ (Inbound/ Outbound)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 3.1.4.1 เพิ่มจำนวนนักศึกษาต่างชาติ และนักศึกษาแลกเปลี่ยนทั้ง Inbound และ Outbound
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี SPO
เป้าประสงค์ พยบ67-1.2 ความสำเร็จของการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (มุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ (Organic University) มหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) และมหาวิทยาลัยเชิงนิเวศ (Eco. University) (GO. Eco U.)
ตัวชี้วัด พยบ67-1.2.1 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University) (ม.1.2.1)
กลยุทธ์ พยบ67-1.2 สนับสนุนและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก MOC
เป้าประสงค์ พยบ67-2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับชาติ
ตัวชี้วัด พยบ67-2.1.5 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21 (ม-2.1.9)
กลยุทธ์ พยบ67-2.1 พัฒนาคุณภาพของบัณฑิตตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานและเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพการพยาบาล
เป้าประสงค์ พยบ67-2.2 มีผลงานวิจัยและนวัตกรรม ที่ใช้ศาสตร์ทางการพยาบาล/การเกษตรเป็นรากฐาน และ ได้รับการยอมรับในระดับชุมชน/ชาติ/นานาชาติ
ตัวชี้วัด พยบ67-2.2.1 จำนวนเงินวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ม-2.2.1)
กลยุทธ์ พยบ67-2.2 สนับสนุนและขับเคลื่อนการผลิตผลงานวิจัยและนวัตกรรม
เป้าประสงค์ พยบ67-2.5 มีระบบการบริหารจัดการองค์กรที่มีสมรรถนะสูง (High Performance Organization)
ตัวชี้วัด พยบ67-2.5.2 ร้อยละของบุคลากรที่มีผลการประเมินสมรรถนะตามมาตรฐานหรือสูงกว่ามาตรฐาน (ม-2.5.2)
กลยุทธ์ พยบ67-2.5 พัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์กร โดยเฉพาะการพัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะที่สูงขึ้น
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ
เป้าประสงค์ พยบ67-3.1 ความสำเร็จในการขับเคลื่อนการดำเนินงานของมหาวิทยาลัย/คณะ ในระดับชุมชน/นานาชาติ
ตัวชี้วัด พยบ67-3.1.1 จำนวนอาจารย์/นักวิจัยแลกเปลี่ยน หรือบุคลากรชาวต่างชาติ (Inbound/Outbound) (ม-3.1.3)
กลยุทธ์ พยบ67-3.1 สร้างความร่วมมือกับสถาบัน/องค์กรต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศเพื่อขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ
ตัวชี้วัด พยบ67-3.1.2 จำนวนนักศึกษาแลกเปลี่ยนทุกระดับ ทุกหลักสูตร หรือผู้เข้ารับการฝึกอบมชาวต่างชาติ (Inbound/Outbound) (ม-3.1.4)
กลยุทธ์ พยบ67-3.1 สร้างความร่วมมือกับสถาบัน/องค์กรต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศเพื่อขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ประเทศไทยมีเป้าหมายการพัฒนาประเทศ ตามยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๗๙) ที่ต้องการให้ประเทศบรรลุวิสัยทัศน์คือ “มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”เพื่อความสุขของคนไทยทุกคน โดยมีประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 เกี่ยวกับการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ เพื่อคนไทยในอนาคตจะต้องมีความพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจ สติปัญญา มีพัฒนาการดีรอบด้าน รวมถึงการมีสุขภาวะที่ดีทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะรับผิดขอบต่อสังคมและผู้อื่น และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดที่ถูกต้อง มีทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ ซึ่งมีความจำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ มีนิสัยรักการเรียนรู้ และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการยุคใหม่โดยสัมมาชีพตามความถนัดของตนเอง มีการกําหนดนโยบายด้านการศึกษา ในการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในชั้นเรียน สร้างปฏิสัมพันธ์ ระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน มุ่งให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ โดยมีครูเป็นผู้อำนวยความสะดวก สร้างแรงบันดาลใจ ให้คำปรึกษาดูแลเป็นโค้ชและพี่เลี้ยง แสวงหาเทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย เรียนรู้อย่างมีความหมาย เกิดความรู้ความข้าใจในตนเอง ใช้สติปัญญาคิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์ผลงานวัตกรรม ที่บ่งบอกถึงการมีสมรรถนะสำคัญในศตวรรษที่ ๒๑ มีทักษะวิชาการ ทักษะชีวิต และทักษะวิชาชีพ ที่บรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ตามระดับช่วงวัย คณะพยาบาลศาสตร์ภายใต้การดำเนินตามปรัชญา วิสัยทัศน์และพันธกิจ ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้เห็นความสำคัญของการพัฒนาบุคลากรด้านการจัดการศึกษาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ หรือสมรรถนะบุคลากรตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ในมิติที่ 3 ด้านการขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติตามกรอบทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้และคณะพยาบาลศาสตร์ เพื่อการพัฒนาด้านวิชาการ และการวิจัย สร้างผลงานสู่ระดับสากล ตลอดจนส่งเสริมและพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษสำหรับนักศึกษา สู่บัณฑิตที่พึงประสงค์ตามต้องการของตลาดแรงงานสากล การสอดรับกับพันธกิจและอัตลักษณ์ด้านการพยาบาล ที่ส่งเสริมการบูรณาการศาสตร์เกษตรด้านอาหารเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ จึงเกิดโครงการ “การบรรยายพิเศษและแลกเปลี่ยนเรียนรู้: ผลกระทบของเทคโนโลยีอาหารและนวัตกรรมต่อภาวะโภชนาการและสุขภาพ และการเตรียมความพร้อมเพื่อการทำงานระดับนานาชาติขึ้น เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กร วิชาชีพ และประเทศต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาการกับนักวิชาการในสถาบันการศึกษาต่างประเทศ
2. เพื่อส่งเสริมทักษะทางด้านภาษาต่างประเทศแก่บุคลากร/นักศึกษา
3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และได้แนวคิดด้านเทคโนโลยีอาหารและนวัตกรรม และผลกระทบของเทคโนโลยีอาหารและนวัตกรรมต่อภาวะโภชนาการและสุขภาพ
4.เพื่อทราบแนวโน้มการดำเนินการวิจัยเกี่ยวกับผลกระทบของเทคโนโลยีอาหารและนวัตกรรมต่อภาวะโภชนาการและสุขภาพ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมโครงการได้แลกเปลี่ยนทางวิชาการกับนักวิชาการในสถาบันการศึกษาต่างประเทศเกียวกับแนวคิด แนวโน้มการทำวิจัยและผลกระทบด้านเทคโนโลยีอาหารและนวัตกรรมต่อภาวะโภชนาการและสุขภาพ
KPI 1 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการได้ฝึกทักษะการฟังภาษาต่างประเทศ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการในภาพรวม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจแนวคิดด้านเทคโนโลยีอาหารและนวัตกรรมต่อภาวะโภชนาการและสุขภาพ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละผู้เข้าร่วมโครงการรับทราบแนวโน้วการทำวิจัยเกี่ยวกับผลกระทบเกี่ยวกับเทคโนโลยีอาหารและนวัตกรรมต่อภาวะโภชนาการและสุขภาพ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมโครงการได้แลกเปลี่ยนทางวิชาการกับนักวิชาการในสถาบันการศึกษาต่างประเทศเกียวกับแนวคิด แนวโน้มการทำวิจัยและผลกระทบด้านเทคโนโลยีอาหารและนวัตกรรมต่อภาวะโภชนาการและสุขภาพ
ชื่อกิจกรรม :
จัดโครงการบรรยายพิเศษและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ : ผลกระทบของเทคโนโลยีอาหารและนวัตกรรมต่อภาวะโภชนาการและสุขภาพ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 09/09/2567 - 09/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จริยาพร  ศรีสว่าง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์บุษกร  ยอดทราย (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์อมรเลิศ  พันธ์วัตร์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์สุรัช  สุนันตา (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ศุภวรรณ  ใจบุญ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางรัตนา  กันตีโรจน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.ศกุนตลา  จินดา (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายศักดิ์นรินทร์  แก่นกล้า (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 67 คน 1 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 2,345 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,345.00 บาท 2,345.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากรบรรยายพิเศษ จำนวน 1 คน 2 ชั่วโมง ๆ ละ 1,200 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท 2,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 4745.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
อาหารที่ผ่านการแปรรูป โดยการนำเทคโนโลยีอาหารและนวัตกรรมมาใช้ในการผลิต อาจส่งผลต่อภาวะโภชนาการและสุขภาพได้ ซึ่งโครงการนี้ได้นำเสนอ แนวคิดด้านโภชนาการ ความสัมพันธ์ระหว่างโภชนาการและสุขภาพ ความต้องการพลังงานและสารอาหารของบุคคล การประเมินภาวะโภชนาการ โชนบำบัด โรคที่เกิดจากการบริโภคทุกช่วงวัย ซึ่งนักศึกษาที่เรียนวิชา 11701 216 โภชนศาสตร์ ได้มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาของในรายวิชาเพิ่มมากขึ้นและนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการให้คำแนะนำบุคคลอื่นๆรวมถึงผู้ป่วยหรือผู้รับบริการได้อีกด้วย
ช่วงเวลา : 09/09/2567 - 09/09/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล