20354 : โครงการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ "Global Nursing Perspectives: Pain Management and the Nurse's Working Experience" (Online: Zoom Cloud Meeting)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นางรัตนา กันตีโรจน์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
13/09/2566  ถึง  13/09/2566
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  150  คน
รายละเอียด  1. รศ.ดร.เทพ พงษ์พานิช ที่ปรึกษาอธิการบดี และ ที่ปรึกษาคณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ 2. คณบดี 3. บุคลากร 15 คน 4. บุคลากรกองเทคโนโลยีดิจิทัล 8 คน 5. บุคลากรคณะศิลปศาสตร์ 1 คน 6. นักศึกาษาและบุคคลภายนอก 124 คน
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะพยาบาลศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานการเรียนการสอน งานจัดการศึกษาสาขาพยาบาล กองทุนเพื่อการศึกษา งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป โครงการตามแนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2)-โครงการเพิ่มทักษะการเรียนรู้ของนักศึกษา/บูรณาการเรียนรู้ 2566 9,400.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จริยาพร  ศรีสว่าง
อาจารย์ ศุภวรรณ  ใจบุญ
อาจารย์ บุษกร  ยอดทราย
อาจารย์ เบญจมาศ  ถาดแสง
อาจารย์ สุรัช  สุนันตา
อาจารย์ อมรเลิศ  พันธ์วัตร์
อาจารย์ หยาดพิรุณ  เสาร์เป็ง
นาง รัตนา  กันตีโรจน์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
นาง มาลี  ล้วนแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะพยาบาลศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
นโยบายด้านบุคลากร
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.7 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.13 ทบทวนรูปแบบการจัดกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 3 การขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ (International)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 3.1 มีเครือข่ายความร่วมมือที่ลงสู่การปฏิบัติจริงในทุกกิจกรรมตามพันธกิจ และมีผลสำเร็จในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 3.4 จำนวนอาจารย์/นักวิจัยแลกเปลี่ยน (Inbound) หรือบุคลากรชาวต่างชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 3.1.5 เพิ่มจำนวนคณาจารย์และนักวิจัยแลกเปลี่ยนกับต่างชาติ (Visiting Professor) ทั้ง Inbound และ Outbound
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 3.6 จำนวนนักศึกษาแลกเปลี่ยน (Inbound) หรือผู้เข้ารับการฝึกอบรมชาวต่างชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 3.1.6 เพิ่มจำนวนนักศึกษาต่างชาติ และนักศึกษาแลกเปลี่ยนทั้ง Inbound และ Outbound
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก MOC
เป้าประสงค์ พยบ66-2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับชาติ
ตัวชี้วัด พยบ66-2.1.3 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ พยบ-2.1 พัฒนาคุณภาพของบัณฑิตตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานและเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพการพยาบาล
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ
เป้าประสงค์ พยบ66- 3.1 มีเครือข่ายความร่วมมือที่ลงสู่การปฏิบัติจริงในทุกกิจกรรมตามพันธกิจ และมีผลสำเร็จในระดับชุมชน
ตัวชี้วัด พยบ66-3.1.2 จำนวนอาจารย์/นักวิจัยแลกเปลี่ยน (Inbound) หรือบุคลากรชาวต่างชาติ
กลยุทธ์ พยบ66-3.1 สนับสนุนและสร้างความร่วมมือกับสถาบัน/องค์กรต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศ เพื่อขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี(พ.ศ.๒๕๖๑-๒๕๘๐) มีเป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรประเทศชาติยั่งยืนมุ่งเน้น การสร้างสมดุลระหว่างการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยยุทธศาสตร์ชาติด้านที่ ๓ ได้กล่าวถึง การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ “คนไทยในอนาคตจะต้องมีความพร้อมทั้งกายและใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้าน และมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์อดออม โอบอ้อมอารีมีวินัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติมีหลักคิดที่ถูกต้อง มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ มีทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ มีนิสัยรักการเรียนรู้ และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิดผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหม่ และอื่นๆ โดยสัมมาชีพตามความถนัดของตนเอง” กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้กําหนดนโยบายให้นําการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) มาจัดกิจกรรมในกระบวนการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในชั้นเรียน สร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน มุ่งให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ โดยมีครูเป็นผู้อำนวยความสะดวก (Facilitator) สร้างแรงบันดาลใจ ให้คําปรึกษา ดูแล แนะนํา ทำหน้าที่เป็นโค้ชและพี่เลี้ยง(Coach & Mentor) แสวงหาเทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้ และแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้อย่างมีความหมาย (Meaningful learning) ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ได้ มีความข้าใจในตนเอง ใช้สติปัญญาคิด วิเคราะห์ สร้างสรรค์ผลงานนวัตกรรมที่บ่งบอกถึงการมีสมรรถนะสำคัญในศตวรรษที่ ๒๑ มีทักษะวิชาการทักษะชีวิต และทักษะวิชาชีพ บรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ตามระดับช่วงวัย เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ถึงบทบาทของการเป็นพยาบาลวิชาชีพในต่างประเทศ รวมถึงมีทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษซึ่งเป็นทักษะสำคัญของพลเมืองในศตวรรษที่ 21 ดังนั้นคณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จึงเล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนาวิชาการและทักษะภาษาอังกฤษของนักศึกษาพยาบาลที่จะสำเร็จการศึกษาในอนาคตอันใกล้ เพื่อให้บัณฑิตมีคุณภาพและตรงกับความต้องการของตลาดแรงงานทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. อธิบายแนวคิดและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีทางการพยาบาลเพื่อให้การพยาบาลผู้ป่วยเพื่อระงับปวดได้
2. มีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างวิทยากรและผู้เข้าร่วมประชุมวิชาการ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ได้คำรับรองการปฏิบัติคณะพยาบาลศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2567
KPI 1 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการได้แนวคิดและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีทางการพยาบาลเพื่อให้การพยาบาลผู้ป่วยเพื่อระงับปวดได้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 ร้อยละ 70
KPI 2 : ความพึงพอใจของผู้เข้ารวมโครงการการดำเนินงานโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ค่าเฉลี่ย 3.51
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการจากกลุ่มเป้าหมาย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการมีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างวิทยากรและผู้เข้าร่วมประชุมวิชาการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ได้รับรู้ถึงประสบการณ์ทำงานทางการพยาบาลในต่างประเทศ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ค่าเฉลี่ย 3.51
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ได้คำรับรองการปฏิบัติคณะพยาบาลศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2567
ชื่อกิจกรรม :
จัดโครงการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ Global Nursing Perspectives: Pain Management and the Nurse's Working Experience

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 13/09/2566 - 13/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จริยาพร  ศรีสว่าง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ศุภวรรณ  ใจบุญ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์บุษกร  ยอดทราย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์เบญจมาศ  ถาดแสง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์สุรัช  สุนันตา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์อมรเลิศ  พันธ์วัตร์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์หยาดพิรุณ  เสาร์เป็ง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางรัตนา  กันตีโรจน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.ศกุนตลา  จินดา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.สาวิตรี  ทิพนี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายศักดิ์นรินทร์  แก่นกล้า (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 25 คน 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 1,750 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 25 คน 1 มื้อ ๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 1,750 บาท
- ค่าของที่ระลึก จำนวน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,500.00 บาท 8,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คน 1 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 600 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คน 0.5 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 900.00 บาท 900.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 9400.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล