20240 : โครงการการแปรรูปขยะมูลฝอย
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นางเพ็ญศิริ หน่อแก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/08/2566  ถึง  30/09/2566
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  4  คน
รายละเอียด  อาจารย์และนักศึกษาวิทยาลัยพลังงานทดแทน
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ วิทยาลัยพลังงานทดแทน หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ได้รับงบประมาณสนับสนุนขากกรมส่งเสริมคุณภาพและสิ่งแวดล้อม 2566 14,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จุฑาภรณ์  ชนะถาวร
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการกำกับติดตามแบบบูรณาการ
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 3 การขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ (International)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 3.1 มีเครือข่ายความร่วมมือที่ลงสู่การปฏิบัติจริงในทุกกิจกรรมตามพันธกิจ และมีผลสำเร็จในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 3.11 ผลการจัดอันดับ SDG Impact Ranking
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 3.1.16 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs) และ SCD Ranking
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ 66-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ (International)
เป้าประสงค์ 66-3.1 มีเครือข่ายความร่วมมือที่ลงสู่การปฏิบัติจริงในทุกกิจกรรมตามพันธกิจ และมีผลสำเร็จในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 66-3.1.9 ผ 66-3.1.9 ผลการจัดอันดับ SDG Impact Ranking
กลยุทธ์ 66-ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันจำนวนประชากรเพิ่มมากขึ้น ทำให้การบริโภคเพิ่มสูงขึ้นเนื่องมาจากความต้องการพื้นฐานและความต้องการความสะดวกสบายทางด้านเทคโนโลยีต่าง ๆ ส่งผลให้มีปริมาณขยะเหลือทิ้งจำนวนมาก สอดคล้องกับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ปัจจุบันมีปริมาณนักศึกษาประมาณ 13,000 คน และบุคลากรประมาณ 1,500 คน ปริมาณขยะในแต่ละวันเพิ่มสูงขึ้น (รูปที่ 1) จากการสำรวจเบื้องต้น พบว่าขยะภายในมหาวิทยาลัยเกิดจากกิจกรรมต่าง ๆ เช่น (1) เศษเหลือทิ้งจากการรับประทานอาหารของบุคลากรและนิสิต และโรงอาหาร (2) การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการเรียนการสอน การประชุม กิจกรรม โครงการและการอบรมต่างๆ (3) ขยะจากเศษกิ่งไม้ใบไม้ (4) บรรจุภัณฑ์พลาสติกบรรจุอาหารและเครื่องดื่ม ซึ่งขยะดังกล่าวจะถูกรวบรวมและนำไปกำจัดยังศูนย์รวบรวมขยะและนำไปฝังกลบยังหลุมฝังกลบขยะต่อไป ซึ่งปัจจุบันสถานที่รวบรวมขยะของจังหวัดเชียงใหม่ อยู่ที่บริเวณศูนย์กำจัดขยะแบบผสมผสาน ชุมชนบ้านตาล อ.ฮอด จ.เชียงใหม่ ศูนย์กำจัดขยะดังกล่าว ต้องรองรับขยะในพื้นที่จ.เชียงใหม่และบริเวณโดยรอบ ประมาณ 400-500 ตัน/วัน ทำให้พื้นที่ในการกำจัดขยะลดลงและจะไม่สามารถรองรับขยะได้ในอนาคต รวมทั้งยังมีบางส่วนที่ไม่มีการแยกประเภทของขยะ ทำให้ขยะที่ไม่สามารถย่อยสลายได้รวมอยู่กับขยะทั่วไป หรือขยะที่สามารถนำมารีไซเคิลได้รวมอยู่ในขยะที่นำไปฝังกลบ และการไม่ทิ่งขยะตรงบริเวณจุดรับขยะ หรือการกำจัดขยะโดยไม่ถูกวิธีของชุมชนบริเวณเขตพื้นที่มหาวิทยาลัย เช่น การเผาทำลาย ทำให้เกิดก๊าซเรือนกระจกลอยขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศ และทำให้เกิดปัญหาโลกร้อนเกิดขึ้นตามมา ซึ่งเป็นปัญหาที่ต้องการรับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน ซึ่งทางมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว ได้มีการกำหนดยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยในการตั้งเป้าให้มีการปรับปรุงมหาวิทยาลัยเป็นมหาลัยสีเขียว รักษ์สิ่งแวดล้อม ปัญหาขยะภายในมหาวิทยาลัยและชุมชนรอบมหาวิทยาลัยจึงเป็นปัญาหลักปัญหาหนึ่งที่ต้องได้รับการแก้ไข (ขยะมูลฝอยประเภทต่าง ๆ) จากปัญหาดังกล่าวชมรมอนุรักษ์ธรรมชาติ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้มีแนวคิดในด้านการบริหารจัดการขยะภายในมหาวิทยาลัย เพื่อให้การจัดการขยะภายในคณะเกิดประสิทธิภาพสูงสุด จึงมีแนวคิดในการลดปริมาณขยะก่อนนำไปทำลาย โดยการเพิ่มมูลค่าของขยะเหลือทิ้งให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่า และนำกลับมาใช้งานในรูปแบบต่าง ๆ การรณรงค์ให้มีการแยกขยะภายในมหาวิทยาลัย โดยจัดเตรียมจุดรวบรวมขยะประเภทต่าง ๆ เก็บรวบรวมและนำมาเพิ่มมูลค่าเป็นผลิตภัณฑ์ จัดฝึกอบรมเรียนรู้การแยกขยะและการนำขยะมาเปลี่ยนรูปผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์ เพื่อสร้างจิตสำนึกในการลดขยะเพื่อลดการเผาทำลายและการฝังกลบ ลดการปล่อยการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เกิดจากวัตถุดิบ กระบวนการผลิต และกระบวนการกำจัดซาก

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อแยกขยะและช่วยลดปริมาณขยะ
เพื่อเพิ่มมูลค่าของขยะเหลือทิ้งให้เกิดเป็นผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์
เพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะในมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การนำขยะมาเปลี่ยนรูปผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์ เพื่อสร้างจิตสำนึกในการลดขยะเพื่อลดการเผาทำลายและการฝังกลบ ลดการปล่อยการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เกิดจากวัตถุดิบ กระบวนการผลิต และกระบวนการกำจัดซาก
KPI 1 : ได้ผลิตภัณฑ์จากขยะเพื่อนำมาใช้ประโยชน์อย่างสร้างสรรค์
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ผลิตภัณฑ์ 1
KPI 2 : สามารถแยกขยะได้ตามประเภทของขยะและลดขยะในการนำไปกำจัดทิ้ง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การนำขยะมาเปลี่ยนรูปผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์ เพื่อสร้างจิตสำนึกในการลดขยะเพื่อลดการเผาทำลายและการฝังกลบ ลดการปล่อยการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เกิดจากวัตถุดิบ กระบวนการผลิต และกระบวนการกำจัดซาก
ชื่อกิจกรรม :
การแปรรูปขยะมูลฝอย

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/08/2566 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จุฑาภรณ์  ชนะถาวร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำรายงานจำนวน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท 1,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุก่อสร้างและวัสดุเกษตร งบประมาณ 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน งบประมาณ 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 3,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 14000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล