20154 : การส่งเสริมและยกระดับผักและพืชสมุนไพรเพื่อขับเคลื่อนความมั่นคงทางอาหารเชิงสุขภาพตามอัตลักษณ์ชุมชนหนองหารสู่การเป็นชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจสีเขียว
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
นายฉัตรชัย ก๋าเร็ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการในลักษณะโครงการ (Project base) เพื่อบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/06/2566  ถึง  31/12/2566
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  65  คน
รายละเอียด  กลุ่มผู้นำชุมชน ผู้สูงอายุ กลุ่ม อสม. กลุ่มเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน กลุ่มเยาวชน ในชุมชนตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชีย่งใหม่
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะบริหารธุรกิจ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ทุนอุดหนุนโครงการบริการวิชาการ (ส่วนกลางมหาวิทยาลัย) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2566 569,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. ปิยวรรณ  สิริประเสริฐศิลป์
อาจารย์ วินัย  แสงแก้ว
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะบริหารธุรกิจ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.21 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.7 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ BA66-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ BA66-G-15 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด BA66-KPI-24 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ BA66-S-42 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

จากผลการดำเนินงานโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ (มหาวิทยาลัยสู่ตำบล/U2T) ในพื้นที่ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่นั้น ในปี 2564-2565 โดยจัดกิจกรรมสร้างผู้ประกอบการเกษตรและต่อยอดเพิ่มมูลค่าสินค้าตำบลหนองหารสู่ชุมชนเศรษฐกิจสีเขียว ได้ทำการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ใช้วัตถุดิบท้องถิ่น ที่มุ่งเน้นการยกระดับผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตรตามความต้องการของ เกษตรกร/ผู้ประกอบการ/วิสาหกิจชุมชนหนองหารเพื่อการค้า อาทิ ปลานิลอินทรีย์แดดเดียว ปลาส้ม แหนมหมู หมูแดดเดียว กลัวยฉาบ กล้วยตาก สมุนไพรอบตัว ลูกประคบ ฯลฯ จำหน่ายสินค้าทั้งที่ตั้งและออนไลน์ ทำให้รายได้เพิมขึ้นอย่างน้อย 5% ให้กับกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ชุมชนหนองหาร เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2566 ได้มีโอกาสเข้าร่วมหาโจทก์ชุมชนหนองหารกับผู้บริหารมาหวิทยาลัยและผู้นำชุมชนหนองหาร สำหรับการต่อยอดจากโครงการ U2T ให้ชุมชนหนองหารในระยะเวลา 5 เดือน สรุปผลประเด็น (1) พัฒนาศักยภาพกลุ่มเยาวชนและคนรุ่นเก่าผ่านกิจกรรม อาทิ การจัดกิจกรรมเชื่อมชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่าทางการตลาดสินค้าเกษตร เช่น กิจกรรมผลิตวัตถุดิบเพื่อส่งร้านอาหาร อุตสาหกรรมในครัวเรือน เช่น สมุนไพร กล้วยฉาบ กิจกรรมอีเว้นท์สอนทำอาหารจากผักและสมุนไพร (event: chef’s table) หรือกิจกรรมอื่นๆ (2) การเพิ่มรายได้-ลดรายจ่ายด้วยพืชสุมนไพร/พืชอัตลักษณ์ชุมชน (3) เชื่อมโยงหน่วยงานรัฐ/เอกชนเพื่อจัดการผลผลิตและการแปรรูปอาหารและจัดการตลาดให้กลุ่มเกษตรกร ผลิตวัตถุดิบ เช่น พริก หอม กระเทียม ตะไคร้ ผักกวางตุ้ง กะหล่ำ ผักบุ้ง มะเขือ ถั่วฝักยาว ถั่วพลู ดอกแค เผือก มัน หน่อไม้ ฯลฯ โครงการนี้จึงมุ่งประสานองค์ความรู้ที่มีอยู่ทั้งในมหาวิทยาลัยแม่โจ้และองค์ความรู้ที่มหาวิทยาลัยมีเครือข่ายความร่วมมือเพื่อบูรณาการการบริการวิชาการที่สามารถตอบสนองความต้องการของชุมชนตำบลหนองหาร โดยโครงการ ประกอบด้วย 2 กิจกรรม (1) กิจกรรมส่งเสริม “ตู้ยาข้างบ้าน ตู้อาหารข้างครัว” เพื่อการสร้างความมั่นคงทางอาหารในครัวเรือนด้วยกระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษาชุมชนหนองหารสู่เศรษฐกิจสีเขียว มีเป้าหมายที่จะพัฒนาคนรุ่นเก่าร่วมคนรุ่นใหม่ทำการเกษตรปลูกผักและพืชสมุนไพรในครัวเรือน ร่วมกับวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ผลิตไม้ตัดดอกและหัวพันธุ์ปทุมมาและกระเจียว วิสาหกิจชุมชนผู้ปลูกพืชผักและสมุนไพรปลอดภัย วิสาหกิจชุมชนผักดีแม่โจ้ และบ้านสมุนไพรแม่ศรีพรรณ์เชียงใหม่ เพื่อพัฒนาแปรรูปอาหารท้องถิ่น และผลิตภัณฑ์สมุนไพร ได้แก่ ลูกประคบสมุนไพร สมุนไพรอบตัว สมุนไพรขัดตัว ยาดม น้ำสมุนไพร สมุนไพรดองยา ผ้าใยบัวดอกปทุมมา และอาหารท้องถิ่น (2) กิจกรรมการทดลองตลาดและการสื่อสารการตลาดอาหารท้องถิ่นและผลิตภัณฑ์สมุนไพรชุมชนหนองหาร เพื่อส่งเสริมธุรกิจเกษตรและกลยุทธ์การจัดการตลาดเชิงกิจกรรมสำหรับอาหารท้องถิ่นและผลิตภัณฑ์สมุนไพรของกลุ่มเกษตรกรตำบลหนองหารสู่การเป็นชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจสีเขียว

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อส่งเสริมการเกษตรและถ่ายทอดองค์ความรู้ให้คนรุ่นเก่าและคนรุ่นใหม่เพื่อการสร้างความมั่นคงทางอาหารในครัวเรือนด้วยกระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษาชุมชนหนองหารสู่เศรษฐกิจสีเขียว
เพื่อพัฒนาอาหารท้องถิ่นและผลิตภัณฑ์สมุนไพรของกลุ่มเกษตรกรตำบลหนองหารสู่การเป็นชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจสีเขียว
เพื่อส่งเสริมธุรกิจเกษตรและพัฒนากลยุทธ์การตลาดอาหารท้องถิ่นและผลิตภัณฑ์สมุนไพรของกลุ่มเกษตรกรตำบลหนองหารสู่การเป็นชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจสีเขียว
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมการเกษตรและถ่ายทอดองค์ความรู้ให้คนรุ่นเก่าและคนรุ่นใหม่เพื่อการสร้างความมั่นคงทางอาหารในครัวเรือนด้วยกระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษาชุมชนหนองหารสู่เศรษฐกิจสีเขียว
KPI 1 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.569 ล้านบาท 0.569
KPI 2 : จำนวนเกษตรกรได้รับความรู้และพัฒนาทักษะการเกษตรเชิงธุรกิจ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
65 คน 65
KPI 3 : สื่อดิจิทัลของธุรกิจเกษตรของกลุ่มเกษตรกรตำบลหนองหาร
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ชิ้น 10
KPI 4 : เกษตรกรมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสินค้าเกษตรของชุมชนหนองหาร
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
85 ร้อยละ 85
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
ผลผลิต : อาหารท้องถิ่นและผลิตภัณฑ์สมุนไพรของกลุ่มเกษตรกรตำบลหนองหารสู่การเป็นชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจสีเขียว
KPI 1 : ผลิตภัณฑ์แปรรูป/ผลิตภัณฑ์อาหาร ได้แก่ลูกประคบสมุนไพร สมุนไพรอบตัว สมุนไพรขัดตัว ยาดม น้ำสมุนไพร สมุนไพรดองยา ผ้าใยบัวดอกปทุมมา และอาหารท้องถิ่น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ผลิตภัณฑ์ 10
KPI 2 : ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ และตราสินค้า 10 ผลิตภัณฑ์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ผลิตภัณฑ์ 10
ผลผลิต : ธุรกิจเกษตรได้รับการพัฒนากลยุทธ์การตลาดอาหารท้องถิ่นและผลิตภัณฑ์สมุนไพรของกลุ่มเกษตรกรตำบลหนองหารสู่การเป็นชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจสีเขียว
KPI 1 : แผนกลยุทธ์การตลาดธุรกิจของสมุนไพรและพืชชุมชน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 แผน 5
KPI 2 : กิจกรรมการตลาดสำหรับเกษตรและผลิตภัณฑ์อาหารเชิงสุขภาพสู่การเป็นชุมชนต้นแบบการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 กิจกรรม 1
KPI 3 : ช่องทางการจำหน่ายสินค้าเกษตรด้วยการตลาดดิจิทัล
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ช่องทาง 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมการเกษตรและถ่ายทอดองค์ความรู้ให้คนรุ่นเก่าและคนรุ่นใหม่เพื่อการสร้างความมั่นคงทางอาหารในครัวเรือนด้วยกระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษาชุมชนหนองหารสู่เศรษฐกิจสีเขียว
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรม “ตู้ยาข้างบ้าน ตู้อาหารข้างครัว” เพื่อการสร้างความมั่นคงทางอาหารเชิงสุขภาพในครัวเรือนด้วยกระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษาตามอัตลักษณ์ชุมชนหนองหารเชิงเศรษฐกิจโดยการเสวนาเชิงปฏิบัติการเพื่อถ่ายทอดความรู้และเสริมสร้างทักษะที่ส่งเสริม “ตู้ยาข้างบ้าน ตู้อาหารข้างครัว”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 30/06/2566 - 30/11/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ปิยวรรณ  สิริประเสริฐศิลป์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์วินัย  แสงแก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 65 คนๆ ละ 150 บาท จำนวน 1 มื้อๆ ละ 5 วัน เป็นเงิน 48,750 บาท
2. ค่าอาหารว่าง และเครื่องดื่ม จำนวน 65 คนๆ ละ 35 บาท จำนวน 2 มื้อๆ ละ 5 วัน เป็นคน 22,750 บาท
3. ค่าจ้างเหมารถยนต์พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1 คัน ๆ ละ 2,500 บาท 6 วัน เป็นเงิน 15,000 บาท
4. ค่าจ้างเหมาสำรวจข้อมูลเกษตรกรพืชผักและสมุนไพร ติดตาม และประเมินผลการปลูกและผลผลิตเกษตร(ก่อนและหลัง) จำนวน 65 แห่ง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 19,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 106,000.00 บาท 106,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 1,200 บาท จำนวน 2 คนๆ ละ 5 วัน เป็นเงิน 18,000 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติ จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท จำนวน 2 คนๆ ละ 5 วัน เป็นเงิน 4,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 22,500.00 บาท 22,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ ปากกา ฯลฯ เป็นเงิน 27,375 บาท
2. ค่าวัสดุสำนักงาน (ถ่ายเอกสาร) จำนวน 65 ชุด ๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 4,550 บาท
3. ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น ซีดี หมึกปริ้น ฯลฯ เป็นเงิน 14,000 บาท
4. ค่าวัสดุเกษตร เช่น เมล็ดพันธุ์ผัก กล้าพันธุ์ไม้ ดิน กากมะพร้าว ปุ๋ย ฟาง เชือก ยูเรีย กากน้ำตาล ฯลฯ เป็นเงิน 150,000 บาท
5. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ตะกร้า ฯลฯ เป็นเงิน 25,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 220,925.00 บาท 220,925.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 349425.00
ผลผลิต : อาหารท้องถิ่นและผลิตภัณฑ์สมุนไพรของกลุ่มเกษตรกรตำบลหนองหารสู่การเป็นชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจสีเขียว
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรม “ตู้ยาข้างบ้าน ตู้อาหารข้างครัว” เพื่อการสร้างความมั่นคงทางอาหารเชิงสุขภาพในครัวเรือนด้วยกระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษาตามอัตลักษณ์ชุมชนหนองหารเชิงเศรษฐกิจโดยการเสวนาเชิงปฏิบัติการเพื่อถ่ายทอดความรู้และเสริมสร้างทักษะที่ส่งเสริม “ตู้ยาข้างบ้าน ตู้อาหารข้างครัว”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 30/06/2566 - 30/11/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์วินัย  แสงแก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ปิยวรรณ  สิริประเสริฐศิลป์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาออกแบบบรรจุภัณฑ์และตราสินค้า ลูกประคบสมุนไพร สมุนไพรอบตัว สมุนไพรขัดตัว ยาดม น้ำสมุนไพร สมุนไพรดองยา ผ้าใยบัวดอกปทุมมา และอาหารท้องถิ่น จำนวน 10 ชิ้น ๆ ละ 10,000 บาท เป็นเงิน 100,000 บาท
2. ค่าจ้างเหมาออกแบบสื่อดิจิทัลเพื่อประชาสัมพันธ์และการทำโฆษณาออนไลน์ (content marketing) ได้แก่ เนื้อหา สรรพคุณและรายเลียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ลูกประคบสมุนไพร สมุนไพรอบตัว สมุนไพรขัดตัว ยาดม น้ำสมุนไพร สมุนไพรดองยา ผ้าใยบัวดอกปทุมมา และอาหารท้องถิ่น จำนวน 10 ชิ้น ๆ ละ 2,000 บาท เป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 120,000.00 บาท 120,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 120000.00
ผลผลิต : ธุรกิจเกษตรได้รับการพัฒนากลยุทธ์การตลาดอาหารท้องถิ่นและผลิตภัณฑ์สมุนไพรของกลุ่มเกษตรกรตำบลหนองหารสู่การเป็นชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจสีเขียว
ชื่อกิจกรรม :
การสื่อสารการตลาดและการทดลองตลาดอาหารท้องถิ่นและผลิตภัณฑ์สมุนไพรชุมชนหนองหาร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/09/2566 - 31/12/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ปิยวรรณ  สิริประเสริฐศิลป์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์วินัย  แสงแก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าเช่าพื้นที่ (เพื่อทดลองจำหน่ายอาหารท้องถิ่น/ผลิตภัณฑ์สมุนไพรชุมชนหนองหาร) จำนวน 2 ที่ ๆ ละ 5,000 บาท 1 เดือน (1-30 กันยายน 2566) เป็นเงิน 10,000 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (การประชุมกลุ่มเพื่อพัฒนากลยุทธ์การตลาดอาหารท้องถิ่นและผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่สะท้อนอัตลักษณ์ชุมชนหนองหาร) จำนวน 15 คน ๆ ละ 1 มื้อ จำนวน 3 วัน เป็นเงิน 1,575 บาท
3. ค่าจ้างเหมาเก็บและประมวลผลข้อมูลเพื่อวิเคราะห์หากลยุทธ์ทางการตลาดผลิตภัณฑ์สมุนไพรชุมชนหนองหาร จำนวน 5 ชิ้น ๆ ละ 3,000 บาท เป็นเงิน 15,000 บาท
4. ค่าจ้างเหมาจัดกิจกรรมทางการตลาดของหน่วยจัดการทดลองตลาดอาหารท้องถิ่นตำบลหนองหาร /Grand Opening&Event food table จำนวน 1 ครั้ง 2 วัน ๆ ละ 30,000 บาท เป็นเงิน 60,000 บาท
5. ค่าจ้างเหมารถยนต์พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1 คัน ๆ ละ 2,500 บาท 4 วัน เป็นเงิน 10,000 บาท
6. ค่าจ้างเหมาจัดทำรูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์ จำนวน 6 เล่ม ๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 99,575.00 บาท 99,575.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 99575.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล