20088 : โครงการผลิตปุ๋ยอินทรีย์เพื่อขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์ บ้านวังโป่ง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
31/05/2566  ถึง  30/09/2566
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  1. กลุ่มเกษตรกร กลุ่มวิสาหกิจ หน่วยงานเทศบาล,อปท. จำนวน 20 คน 2. กรรมการและสมาชิกวิสาหกิจชุมชนผักปลอดภัยในมือเราตามรอยพ่อ จำนวน 10 คน
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ของสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร
2566 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มณฑล  นอแสงศรี
อาจารย์ ดร. วิลาสินี  บุญธรรม
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการ และพัฒนาโครงการที่สอดคล้องกับกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลก ภูมิภาค นโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ 66-3 เป็นศูนย์การเรียนรู้และการบริการวิชาการแก่สังคม
เป้าประสงค์ 66-3.1 การเป็นสถาบันที่ประชาชนพึ่งพาได้และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งและคุณภาพชีวิตของชุมชน
ตัวชี้วัด 66-3.1.7 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาลัยด้าน Organic Green Eco
กลยุทธ์ 66-3.1.7.1.1 ส่งเสริมและยกระดับโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาลัยด้าน Organic Green Eco
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรีทรงมีพระราชหฤทัยมุ่งมั่นที่จะแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของราษฎรเสมือนหนึ่งเป็นความทุกข์ของพระองค์ พระองค์จึงทรงมีพระราชดำริที่จะพัฒนาความเป็นอยู่ของราษฎรให้เกิดความ "พออยู่ พอกิน” โดยทรงมีแนวพระราชดำริเกี่ยวกับการส่งเสริมชุมชนหรือการพัฒนาชนบทเพื่อให้เกิดการพึ่งตนเองได้ของคนในชนบทเป็นหลัก กิจกรรมและโครงการตามแนวพระราชดำริที่ดำเนินการอยู่หลายพื้นที่ทั่วประเทศในปัจจุบันนั้นล้วนแล้วแต่มีเป้าหมายสุดท้ายอยู่ที่การพึ่งตนเองได้ของราษฎรทั้งสิ้น ในทางปฏิบัติการส่งเสริมการพัฒนาเพื่อพึ่งตนเองนั้นจะต้องทำอย่างค่อยเป็นค่อยไป และมีหลากหลายแนวทาง การพัฒนาปุ๋ยอินทรีย์เพื่อขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์เป็นแนวคิดที่สำคัญโดยเป็นส่วนที่สนับสนุนการสร้างปัจจัยการผลิตพื้นฐานได้จากการนำเศษวัสดุที่ได้จากการเกษตรมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด สร้างความสมดุลทางธรรมชาติที่เอื้อต่อสภาพแวดล้อม เกิดความเข้าใจหลักการหมุนเวียนแร่ธาตุตามธรรมชาติที่พึ่งปัจจัยจากสิ่งมีชีวิต เช่น จุลินทรีย์ แมลง สัตว์ต่างๆ เป็นต้น และปัจจัยที่ไม่มีชีวิต เช่น ความชื้น อุณหภูมิและแร่ธาตุ เป็นต้น สามารถนำมาประยุกต์ใช้โดยปรับปัจจัยดังกล่าวเพื่อใช้ในการเกษตรได้อย่างเหมาะสม ปุ๋ยที่ได้จากผลผลิตนี้เป็นการสร้างความตระหนักที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ลดการใช้สารเคมี ลดต้นทุนการผลิตนำไปสู่การพัฒนาระบบเกษตรปลอดภัย สร้างความเข้มแข็ง พัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืนให้กับชุมชนและเกษตรกรบนฐานทรัพยากรที่มีอยู่อย่างเหมาะสม บ้านวังโป่ง หมู่ 5 ตำบลร้องกวาง อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ เป็นที่ลุ่มมีแม่น้ำสายหลัก คือ แม่น้ำแม่คำมี เกษตรกรจึงสามารถปลูกพืชหมุนเวียนได้ทั้งปี อย่างไรก็ตามชุมชนประสบปัญหาการใช้สารเคมีทางการเกษตร และปัญหาดินเสื่อมคุณภาพ ดังนั้นจึงไดเจัดทำโครงการการผลิตปุ๋ยอินทรีย์เพื่อขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์ขึ้นเพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรผลิตและใช้ปุ๋ยอินทรีย์ทดแทนสารเคมีทางการเกษตร เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมของชุมชน รวมถึงเป็นการลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตให้กับเกษตรกรในพื้นที่ นอกจากนี้ทางโครงการยังมีวัตถุประสงค์เให้เกษตรกรเกิดความรู้ ความเข้าใจกระบวนการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ให้ได้รับมาตรฐานสำหรับการค้า เพื่อให้เกษตรกรสามารถสร้างรายได้จากการจำหน่ายปุ๋ยอินทรีย์ที่เหลือใช้จากพื้นที่ทางการเกษตรของตนได้อีกทางหนึ่งด้วย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อให้เกษตรกรเกิดความรู้ ความเข้าใจกระบวนการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ให้ได้รับมาตรฐานสำหรับการค้า และแนวทางการสร้างรายได้จากการจำหน่ายปุ๋ยอินทรีย์
2. เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรผลิตและใช้ปุ๋ยอินทรีย์ทดแทนสารเคมีทางการเกษตรเป็นการลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
3. เพื่อให้เกษตรกรเกิดกระบวนการเรียนรู้และเกิดความเข้าใจแนวทางการทำเกษตรอินทรีย์ และเกิดแนวคิดในการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เกษตรกรและสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่หมู่บ้านวังโป่งมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ให้ได้รับมาตรฐานสำหรับการค้า และสามารถสร้างรายได้จากการจำหน่ายปุ๋ยอินทรีย์ที่เหลือจากการใช้ในพื้นที่ของตนเอง
KPI 1 : ชุมชนมีการจัดการขยะอินทรีย์และเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรอย่างเหมาะสม การเผาขยะอินทรีย์และเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรในพื้นที่ลดลง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 ร้อยละ 20
KPI 2 : เกษตรกรและสมาชิกวิสาหกิจชุมชนผักปลอดภัยในมือเราตามรอยพ่อเข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 3 : เกษตรกรในพื้นที่มีศักยภาพในการพัฒนาปุ๋ยอินทรีย์ให้ได้รับมาตรฐานสำหรับการค้า
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 ราย 5
KPI 4 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจำหน่ายปุ๋ยอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 ร้อยละ 20
KPI 6 : วิสาหกิจกลุ่มผลิตปุ๋ยอินทรีย์เพื่อการค้า
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 กลุ่ม 1
KPI 7 : ต้นแบบผลิตภัณฑ์จากปุ๋ยอินทรีย์ที่สามารถจำหน่ายในเชิงการค้าได้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 ผลิตภัณฑ์ 2
KPI 8 : จำนวนสมาชิกเครือข่ายกลุ่มผลิตพืชอินทรีย์ที่ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในจังหวัดแพร่
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ราย 10
KPI 9 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 10 : เกษตรกรมีการผลิตและใช้ประโยชน์จากปุ๋ยอินทรีย์ในการทำการเกษตรเพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 ร้อยละ 20
KPI 11 : ร้อยละความรู้ความเข้าใจในกระบวนการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ให้ได้รับมาตรฐานสำหรับการค้าของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 ร้อยละ 70
KPI 12 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
KPI 13 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เกษตรกรและสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่หมู่บ้านวังโป่งมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ให้ได้รับมาตรฐานสำหรับการค้า และสามารถสร้างรายได้จากการจำหน่ายปุ๋ยอินทรีย์ที่เหลือจากการใช้ในพื้นที่ของตนเอง
ชื่อกิจกรรม :
1. การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากขยะอินทรีย์และเศษวัสดุเหลือใช้ทางการ เกษตรในชุมชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 31/05/2566 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มณฑล  นอแสงศรี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 36 คน ๆ ละ 80 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 2,880 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 36 คน ๆ ละ 30 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 2,160 บาท
3. ค่าเช่าสถานที่จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 1 วันๆละ 1,000 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
4. ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือประกอบการฝึกอบรม ขนาด A4 (50 หน้า) จำนวน 30 เล่มๆละ 30 บาท เป็นเงิน 900 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,940.00 บาท 6,940.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 3 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 2,700 บาท
3. ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 3 คนๆละ 1 วันๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,100.00 บาท 5,100.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษบรู๊ฟ กระดาษ A4 ปากกาลูกลื่น ปากกาเมจิก เป็นเงิน 560 บาท
2. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น เข่งพลาสติกใหญ่ ตะกร้าพลาสติก เป็นเงิน 2,400 บาท
3. ค่าวัสดุเกษตร เช่น มูลสัตว์ เป็นเงิน 2,680 บาท
4. ค่าวัสดุก่อสร้างเช่น ตาข่าย ลวด คีมตัดลวด เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,640.00 บาท 8,640.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 20680.00
ชื่อกิจกรรม :
การพัฒนาปุ๋ยอินทรีย์ให้ได้รับมาตรฐานสำหรับการค้า และการสร้างรายได้จากปุ๋ยอินทรีย์
2.1 การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาปุ๋ยอินทรีย์ให้ได้รับมาตรฐานสำหรับการค้า

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 31/05/2566 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มณฑล  นอแสงศรี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 3 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 2,700 บาท
3. ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 3 คนๆละ 1 วันๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,100.00 บาท 5,100.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 36 คน ๆ ละ 80 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 2,880 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 36 คน ๆ ละ 30 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 2,160 บาท
3. ค่าเช่าสถานที่จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 1 วันๆละ 1,000 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
4. ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือประกอบการฝึกอบรม ขนาด A4 (50 หน้า) จำนวน 30 เล่มๆละ 20 บาท เป็นเงิน 600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,640.00 บาท 6,640.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษบรู๊ฟ กระดาษ A4 ปากกาลูกลื่น ปากกาเมจิก แฟ้มซอง เป็นเงิน 550 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 550.00 บาท 550.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 12290.00
ชื่อกิจกรรม :
2.2 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ปุ๋ยอินทรีย์เพื่อการค้า

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 31/05/2566 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มณฑล  นอแสงศรี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาจัดทำบรรจุภัณฑ์ต้นแบบ จำนวน 2 ผลิตภัณฑ์ ๆ ละ 4,000 บาท เป็นเงิน 8,000 บาท
2. ค่าตรวจวิเคราะห์คุณสมบัติของปุ๋ยอินทรีย์ตามมาตรฐาน จำนวน 1 ตัวอย่าง เป็นเงิน 3,750 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 11,750.00 บาท 11,750.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 11750.00
ชื่อกิจกรรม :
3. การติดตามประเมินผลการถ่ายทอดความรู้และให้คำปรึกษาในการประยุกต์ใช้องค์ความรู้การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ให้ได้รับมาตรฐานสำหรับการค้า

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 31/05/2566 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มณฑล  นอแสงศรี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าปฏิบัติงานล่วงเวลา (วันหยุดราชการ) จำนวน 3 คน ๆ ละ 6 ชั่วโมงๆ ละ 30 บาท จำนวน 8 ครั้ง เป็นเงิน 4,320 บาท
2. ค่าชดเชยน้ำมันเชื้อเพลิงรถยนต์ส่วนตัว ไป-กลับ (มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ - บ้านวังโป่ง) จำนวน 3 คัน ระยะทาง 10 กิโลเมตร ๆ ละ 4 บาท จำนวน 8 ครั้ง เป็นเงิน 960 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,280.00 บาท 5,280.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 5280.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล