20033 : โครงการ "การพัฒนาพื้นที่ห้องสมุดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ประตูสู่ศตวรรษที่ 21"
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
นายประภัย สุขอิน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา (เบิกจ่ายจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
25/05/2566  ถึง  31/08/2566
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  นักศึกษา อาจารย์ บุคลากร มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร และ ผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด จำนวน 50 คน
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบพัฒนานักศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 2566 30,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย ประภัย  สุขอิน
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.6 ผลการประกันคุณภาพภายในของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.12 พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอน และการให้บริการด้านวิชาการออนไลน์ เพื่อการเป็น Digital university ที่สมบูรณ์ รวมทั้งการจัดทำหลักสูตรออนไลน์ หรือ MOOC ทั้งระยะสั้นและระยะยาว
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.7 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.13 ทบทวนรูปแบบการจัดกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.2 มีผลงานวิจัยและนวัตกรรม ที่ใช้เกษตรเป็นรากฐาน และได้รับการยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.17 ร้อยละของบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (Citation)
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.2.11 ส่งเสริมและผลักดันวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพ
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.5 มีระบบการบริหารจัดการองค์กรที่มีสมรรถนะสูง (High Performance Organization)
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.27 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตาม Training Roadmap
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.5.7 สนับสนุนบุคลากรทุกคนได้รับการพัฒนาสมรรถนะตาม Training Roadmap ของแต่ละตำแหน่ง ให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานหรือสูงกว่าที่มาตรฐานกำหนด
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.66 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.66 : 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.66:2.1.6 ผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของคณะ
กลยุทธ์ มจ.ชพ.66 : 19. พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอน และการให้บริการด้านวิชาการออนไลน์ เพื่อการเป็น Digital university ที่สมบูรณ์ รวมทั้งการจัดทำหลักสูตรออนไลน์ หรือ MOOC ทั้งระยะสั้นและระยะยาว
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.66:2.1.7 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ มจ.ชพ.66 : 20. ทบทวนรูปแบบการจัดกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.66 : 2.2 มีผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่ใช้เกษตรเป็นฐานราก และได้รับการยอมรับระดับชาติ และนานาชาติ
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.66:2.2.6 ร้อยละของบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (Citation)
กลยุทธ์ มจ.ชพ.66 : 37. ส่งเสริมและผลักดันวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพ
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.66 : 2.5 มีระบบการบริหารจัดการองค์กรที่มีสมรรถนะสูง (High Performance Organization)
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.66:2.5.2 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตาม Training Program และนำไปใช้ประโยชน์
กลยุทธ์ มจ.ชพ.66 : 52. สนับสนุนบุคลากรทุกคนได้รับการพัฒนาสมรรถนะตาม Training Roadmap ของแต่ละตำแหน่ง ให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานหรือสูงกว่าที่มาตรฐานกำหนด
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ภารกิจสำคัญของมหาวิทยาลัยคือการจัดระบบการเรียนการสอนให้เกิดประสิทธิภาพ เพื่อการผลิตบัณฑิตอย่างมีคุณภาพ บรรลุความสมบูรณ์ของความเป็นมนุษย์และตอบสนองต่อความต้องการของประเทศชาติ ห้องสมุดในฐานะเป็นหน่วยงานสนับสนุนด้านการเรียนการสอนและการเรียนรู้ จึงมีบทบาทสำคัญในการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศและบริการสนับสนุนการวิจัย อีกทั้งยังตระหนักถึงความสำคัญในการให้การศึกษากับผู้ใช้ให้มีทักษะสารสนเทศและทักษะเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในปัจจุบันการปรับรูปแบบการให้บริการเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ของห้องสมุดมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้สอดคล้องกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อีกทั้งเป็นการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นห้องสมุดดิจิทัล ที่มากกว่าการเป็นคลังการจัดเก็บสื่อสิ่งพิมพ์และชั้นวางหนังสือ โดยมุ่งเน้นการใช้พื้นที่การอ่านกลายมาเป็นพื้นที่โปร่งโล่ง การจัดวางเฟอร์นิเจอร์แบบยืดหยุ่น สามารถปรับใช้งานได้ตามความต้องการหรือกิจกรรมที่แตกต่างหลากหลาย ออกแบบพื้นที่เพื่อสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ และการค้นพบความรู้ใหม่จากกิจกรรมสร้างสรรค์ที่จัดขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีบรรยากาศผ่อนคลาย มีสีสันมากขึ้น ตลอดจนกิจกรรมเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะศตวรรษที่ 21 ไม่ว่าการจัดนิทรรศการศิลปะหรือความรู้ จัดอบรมพัฒนาทักษะใหม่ สอนภาษา เปิดพื้นที่การประกวดแข่งขันสร้างสิ่งประดิษฐ์ อภิปรายพูดคุยเรื่องการเมือง ฯลฯ และจากข้อมูลของ NSW Government Schools (2564) ที่ระบุไว้ว่า พื้นที่การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพควรจะมีลักษณะที่คล่องตัว หลากหลายและเชื่อมต่อเข้าหากัน สามารถปรับเปลี่ยนให้เข้ากับรูปแบบการเรียนรู้และเทคโนโลยีได้ มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม เช่น อุณหภูมิ เสียง และแสง สนับสนุนให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง รวมถึงสนับสนุนการเรียนรู้และการสอนร่วมกันระหว่างผู้เรียนและผู้สอนนั่นคือการพัฒนาพื้นที่การเรียนรู้ (Learning Space) ห้องสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ชุมพร ในฐานะเป็นหน่วยงานสนับสนุนด้านการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ตลอดชีวิต อีกทั้งยังตระหนักถึงการปรับรูปแบบการให้บริการเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ของห้องสมุดในปัจจุบันจึงต้องมีการเปลี่ยนแปลงให้สอดคล้องกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จึงได้จัดโครงการการพัฒนาพื้นที่แหล่งเรียนรู้ประสู่สู่ศตวรรษที่ 21 เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ ศึกษาค้นคว้า และเกิดประสิทธิภาพต่อการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ เพราะพื้นที่การเรียนรู้เป็นกุญแจสำคัญในการเปิดโลกแห่งการเรียนรู้ออกไปได้อย่างไม่สิ้นสุด

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาพื้นที่การเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์สอดคล้องกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
เพื่อพัฒนาทักษะผู้เรียนให้มีความรู้การเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง และสามารถนำไปใช้ได้จริง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : มีพื้นที่การเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ และมีความรู้ในการเข้าถึงสารสนเทศที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง
KPI 1 : ความพึงพอใจต่อพื้นที่การเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ที่สอดคล้องกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้เทคนิคการการเข้าถึงสารสนเทศไปใช้ประโยชน์ได้จริง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : มีพื้นที่การเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ และมีความรู้ในการเข้าถึงสารสนเทศที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง
ชื่อกิจกรรม :
พัฒนาพื้นที่การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม สนับสนุนให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 23/05/2566 - 31/08/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายประภัย  สุขอิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.ศุจินธร  รัตนิพนธ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายลงทุน » ค่าครุภัณฑ์
ตู้ทำน้ำร้อน-น้ำเย็น จำนวน 1 ตู้ ราคา 8,690 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,690.00 บาท 0.00 บาท 8,690.00 บาท
รายจ่ายลงทุน » ค่าครุภัณฑ์
รถเข็นหนังสือ ขนาด 150 ลิตร จำนวน 1 คัน ราคา 4,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
โปสเตอร์สแตนด์ ขนาด A3 จำนวน 1 ป้าย ราคา 4,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
บอร์ดเกมส์ จำนวน 14 ชิ้น เป็นเงิน 10,770 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,770.00 บาท 0.00 บาท 10,770.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
รถเข็นของตลาดหลังโค้ง จำนวน 1 คันๆ ละ 1,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กล่องอะคลิลิก, กล่องโบชัวร์, เหล็กคั่นหนังสือ เป็นต้น เป็นเงิน 1,040 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,040.00 บาท 0.00 บาท 1,040.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 30000.00
ชื่อกิจกรรม :
การจัดฝึกอบรมเทคนิคการสืบค้นสารสนเทศเพื่อการเรียนการสอน และการวิจัย ใช้เวลาจำนวน 3 ชั่วโมง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 25/05/2566 - 31/08/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายประภัย  สุขอิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.ศุจินธร  รัตนิพนธ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่เบิกงบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
ฝึกอบรมเทคนิคการคัดเลือกวารสารเพื่อการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ในรูปแบบออนไลน์ จำนวน 3 ชั่วโมง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 25/05/2566 - 31/08/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายประภัย  สุขอิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.ศุจินธร  รัตนิพนธ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่เบิกงบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล