20009 : 8th University Consortium Graduate Forum
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
Mr.Olalekan Israel Aiikulola (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 2/5/2566 14:58:15
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
15/05/2566  ถึง  31/05/2566
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  นักศึกษาปริญญาโท จากมหาวิทยาลัยสมาชิก University Consortium นักศึกษาระดับปริญญาเอก จากมหาวิทยาลัยสมาชิก University Consortium เจ้าหน้าที่ SEARCA นักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยแม่โจ้
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณจากแหล่งอื่น วิทยาลัยนานาชาติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณสนับสนุนจาก SEARCA 2566 305,920.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
Mr. Olalekan Israel  Aiikulola
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
น.ส. รดาพร  ทองมา
อาจารย์ ดร. วินิตรา  ลีละพัฒนา
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
วิทยาลัยนานาชาติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการกำกับติดตามแบบบูรณาการ
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 3 การขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ (International)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 3.1 มีเครือข่ายความร่วมมือที่ลงสู่การปฏิบัติจริงในทุกกิจกรรมตามพันธกิจ และมีผลสำเร็จในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 3.1 ความสำเร็จของการเป็นผู้นำเครือข่ายสถาบันการศึกษาด้านการเกษตรระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 3.1.1.สร้างเครือข่ายความร่วมมือระดับนานาชาติกับสถาบันการศึกษา และหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 5 การเพิ่มรายได้ลดรายจ่าย (Income)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 5.1 มีความมั่นคงทางการเงินและเติบโตอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 5.1 จำนวนงบประมาณแผ่นดิน
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 5.1.1 พัฒนาระบบการจัดทำคำของบประมาณและบริหารงบประมาณของมหาวิทยาลัยที่มีประสิทธิภาพ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 2.21 66 MJU-IC ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 2.3.7 สร้างความสำเร็จและประเมินผลสัมฤทธิ์ผลของโครการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 3 การขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ (International)
เป้าประสงค์ จำนวนนักศึกษาแลกเปลี่ยน (Outbound) หรือเดินทางไปศึกษาต่อในต่างประเทศ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 3.7 จำนวนนักศึกษาแลกเปลี่ยน (Outbound) หรือเดินทางไปศึกษาต่อในต่างประเทศ
กลยุทธ์ เพิ่มจำนวนนักศึกษาแลกเปลี่ยนทุกระดับ ทุกหลักสูตร (outbound) หรือผู้เข้ารับการฝึกอบรมชาวต่างชาติ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

Maejo University (MJU), in collaboration with the Southeast Asian University Consortium for Graduate Education in Agriculture and Natural Resources (UC), is organizing the 8th UC Graduate Forum with the theme, "Prospect of Agriculture Sustainability: Organic Intelligent Agriculture, on May 18 - 19, 2023. Rationale The world is currently facing significant challenges that threaten the sustainability of food and agriculture systems, as well as the livelihoods of countless family farmers. These challenges include natural resource depletion, the detrimental impacts of environmental degradation (such as desertification, drought, land degradation, water scarcity, and biodiversity loss), an ever-increasing global population, and the ongoing effects of climate change. These global concerns pose a serious threat to achieving the right to enough food and the fundamental right to be free from hunger. Despite ongoing efforts, hunger remains a persistent challenge for humanity, with an estimated 815 million people currently suffering from chronic malnutrition. To meet the projected demand from a population of nearly 10 billion people in 2050, agricultural production will need to increase by nearly 50% compared to that of 2012. However, most of this increase must come from family farmers who handle around 75% of global farmland and produce 80% of the world's food, yet often struggle with poverty and food insecurity themselves. Agriculture and food production is at the foundation of the 2030 Sustainable Development Agenda, from reducing poverty and hunger to responding to climate change and conserving natural resources. In this framework, innovation will be the primary factor in transforming farming practices, lifting farmers and ranchers out of poverty, and assisting the globe in achieving food security, sustainable agriculture, and the SDGs. A new strategy is a means by which individuals or organizations introduce new or existing products, processes, or organizational structures within a specific framework to improve performance, competitiveness, resilience, and sustainable development, ultimately contributing to food security and nutrition, economic growth, and sustainable management of natural resources. Agriculture innovations encompass all aspects of the production process, including agricultural, forestry, fisheries, and livestock production, as well as resource and system performance, organization, and market access. Some examples of innovation include developing new crop varieties, combining traditional techniques with modern scientific knowledge, implementing advanced pest control and post-harvest practices, and finding innovative ways to connect with consumers and increase profitability. Entrepreneurship is not just technology but also social, economic, institutional/organizational, and traditions essential to improving the livelihoods of family farmers. To foster innovation, it is vital for the government, in partnership with civil society organizations, farmer groups, and large corporations, to create an enabling environment that connects these diverse stakeholders, strengthens their capabilities, and provides opportunities. Research and extension are likewise critical components in creating this environment. The 8th UC Graduate Forum's conceptual model centers on promoting economic success, improved living conditions, a better quality of life, and advancement of individuals from developing nations through the enhancement of agronomic systems that take into account the impacts of climate change and the integration of new sensor and IoT technology to manage farms. The forum also aims to provide opportunities for participants to explore ways to improve agricultural production in the face of climate change, by utilizing smart farming techniques. The forum aims to empower both children and adults with the necessary skills and knowledge, not only to manage day-to-day tasks but also to adapt to the changing environment, particularly in addressing environmental concerns. Main Theme: Future of Agriculture Sustainability; Organic Intelligent Agriculture Sub-theme I: Smart Agriculture Technologies: Precision Agriculture, Vertical Farming, and Innovative Agri-Products Sub-theme II: Sustainable Agricultural Management: Biotechnology, Agroforestry, Agro-Tourism, Community Based Tourism Sub-theme III: Organic Intelligent Agriculture: A Way towards Ancient Farming Practices Sub-theme IV: Digital Agro-Economy: BCG Model, Digital Economics and Farm Management

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. Provide an opportunity for MJU student and researchers, to share knowledge
2. To provide a robust platform for expression of interest & cognitive thoughts and promote research among all the active participants
3. To provide an opportunity to participants to upgrade their knowledge in context of global issues on Agriculture Sustainability, Organic Intelligent Agriculture, Digital Agro-Economy, Smart Technologies and Sustainable Agricultural Management
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้ารวมสัมมนาวิชาการ 2023 University Consortium Graduate Forum
KPI 1 : จำนวนผู้เข้ารวมสัมมนาวิชาการ “2023 University Consortium Graduate Forum"
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 คน 70
KPI 2 : จำนวนผลงานวิชาการระดับนานาชาติที่ผ่านเกณฑ์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
45 ผลงาน 45
KPI 3 : ความพึงพอใจของผู้เข้าสัมมนาวิชาการ “2023 University Consortium Graduate Forum
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยล่ะ 90
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้ารวมสัมมนาวิชาการ 2023 University Consortium Graduate Forum
ชื่อกิจกรรม :
8th University Consortium Graduate Forum

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 16/05/2566 - 20/05/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
Mr.Olalekan Israel  Aiikulola (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (พิธีเปิด,ปิด) 70 คน x 2 มื้อ x 300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 42,000.00 บาท 0.00 บาท 42,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารเย็น (วันที่ 18 และ 19) 70 คน x 2 มื้อ x 300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 42,000.00 บาท 0.00 บาท 42,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (เช้า, บ่าย วันที่ 18 - 19) 70 คน x 4 มื้อ x 50 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 14,000.00 บาท 0.00 บาท 14,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าที่พักสำหรับ นศ ต่างชาติที่เข้าร่วม สัมมนาวิชาการ “2023 University Consortium Graduate Forum" จำนวน 42 คน x 500 บาท x 2 คืน= 42,000
2. ค่าที่พักสำหรับ นศ ต่างชาติที่เข้าร่วม สัมมนาวิชาการ “2023 University Consortium Graduate Forum" จำนวน 1 คน x 1000 บาท x 2 คืน=2,000
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 44,000.00 บาท 0.00 บาท 44,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าที่พักสำหรับ เจ้าหนาที่ (DIRECTOR SEARCA) จำนวน 1 คน x 1000 บาท x 2 คืน=2,000
2. ค่าที่พักสำหรับ เจ้าหนาที่ SEARCA จำนวน 6 คน x 500 บาท x 2 คืน=6,000
3. ค่าที่พักสำหรับ เจ้าหนาที่ SEARCA จำนวน 1 คน x 1000 บาท x 2 คืน=2,000
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาจัดทำ วีดีโอ บันทึกภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว จำนวน 1 งาน x 5,000 บาท
2. จ้างหมาจัดทำ "Book of Abstract" จำนวน 70 เล่ม x 300 =21,000
3. ค่าจ้างเหมารถตู้ (รับสนามบินวันแรก และ ส่งสามบินวันสุดทาย) จำนวน 4 คัน X 2 วัน x 1,800 บาท = 14,400
4. ค่าจ้างเหมารถตู้ (ศึกษาดูงาน) จำนวน 5 คัน X 1,800 บาท = 9,000
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 49,400.00 บาท 0.00 บาท 49,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทน Keynote Speaker จำนวน 1000 บาท x 4 ท่าน = 4,000
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ A4, กระดาษการ์ด,ป้ายห้อยคอ,กระดาษว่าว,กาว, แฟ้มใส่เอกสาร,ปากกา (15,000 บาท)
2. ค่าวัสดุโฆษณาและเผยแพร่ เช่น ป้ายไวนิล (5000 บาท)
3. ค่าถ่ายเอกสาร (5000 บาท)
4. ใบประกาศ (3928 บาท)
5. ค่าวัสดุเชื้อเพลิง จำนวน 20,000 บาท
6. กระเป๋าสำหรับผู้เข้าร่วม สัมมนาวิชาการ “2023 University Consortium Graduate Forum” 70 x 300 = 21,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 69,928.00 บาท 0.00 บาท 69,928.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าสาธารณูปโภค
หัก 10% จากรายได้ให้ มหาวิทยาลัย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 30,592.00 บาท 0.00 บาท 30,592.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 305920.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล