19991 : โครงการแปรรูปผลผลิตจากปลาโดยการอบแห้งด้วยพลังงานแสงอาทิตย์และการนำวัสดุเหลือใช้ในชุมชนเพื่อผลิตเป็นพลังงานทดแทน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นางเพ็ญศิริ หน่อแก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/12/2565  ถึง  30/09/2566
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้เลี้ยงปลาตามลำน้ำธรรมชาติ อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ และ ชุมชนบ้านหัวทุ่ง ตำบลเชียงดาว อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน วิทยาลัยพลังงานทดแทน หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ 2566 350,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติกร  สาสุจิตต์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิกราน  หอมดวง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ยิ่งรักษ์  อรรถเวชกุล
อาจารย์ ดร. ภคมน  ปินตานา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชูรัตน์  ธารารักษ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุระพล  ริยะนา
น.ส. นงเยาว์  เต๋จ๊ะใหม่
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.21 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.7 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ 66-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 66-2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 66-2.3.3 ผ 66-2.3.3 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 66-สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

พลังงานนับว่าเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความสำคัญสำหรับภาคประชาชน และภาครัฐ ซึ่งจากสถานการณ์ด้านพลังงานปัจจุบันที่มีแนวโน้มการใช้พลังงานฟอสซิลเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทั้งในรูปแบบของการใช้พลังงานไฟฟ้า พลังงานความร้อน โดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรมที่มีการใช้จำนวนมาก ทำให้ส่งผลกระทบต่อภาคประชาชนโดยตรงทั้งในเรื่องค่าใช้จ่ายด้านพลังงานในครัวเรือน ประกอบกับสมดุลระหว่างรายรับรายจ่ายของครอบครัวที่ไม่เท่ากันในแต่ละครัวเรือน ทำให้ครัวเรือนต้องเสียค่าใช้จ่ายหลักในส่วนของพลังงานเป็นสัดส่วนที่มาก ดังนั้นแนวทางในการลดการใช้พลังงานในครัวเรือนหลัก ๆ ก็คือการลดการใช้พลังงานจำพวก แก๊สหุงต้มในครัวเรือน แนวทางการประหยัดพลังงานไฟฟ้า รวมไปถึงการสรรหาพลังงานทดแทนในรูปแบบต่าง ๆ สำหรับใช้ในครัวเรือน อาทิเช่น ระบบผลิตไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ ไฟส่องสว่างพลังงานแสงอาทิตย์ เทคโนโลยีพลังงานเชื้อเพลิงชีวมวลต่าง ๆ ได้แก่ เตาชีวมวลเชื้อเพลิงจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร เป็นต้น ซึ่งเทคโนโลยีด้านพลังงานทดแทนสำหรับครัวเรือนเหล่านี้จะช่วยตอบสนองความต้องการชุมชน ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความเข้าใจในด้านการใช้พลังงานทดแทนในครัวเรือน การลดการใช้พลังงานในด้านต่าง ๆ ต้องทำการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในด้านความรู้และสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับพลังงานทดแทน เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตพลังงานทดแทนในรูปแบบต่าง ๆ ด้วยการใช้ทรัพยากรและวัตถุดิบที่มีอยู่ในท้องถิ่น และเพื่อกระตุ้น การสร้างกระแสการรับรู้เทคโนโลยีพลังงาน ความรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงานในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งนี้ภาครัฐมีนโยบายและโมเดลเศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน BCG in Action : The New Sustainable Growth Engine (Bio-Circular-Green Economy) เพื่อให้เกิดการสร้างมูลค่าทางผลิตภัณฑ์โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านเกษตรและอาหาร พลังงานและวัสดุ ซึ่งวิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ถือว่าเป็นหน่วยงานด้านการเรียนการสอน และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีร่วมกับภาคเกษตรกรรม และนอกจากนั้นมีการเผยแพร่ผลสำเร็จงานวิจัยต่าง ๆ ให้กับกลุ่มชุมชนมาอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นโครงการบริการวิชาการนี้ จึงมีแนวทางการเผยแพร่เทคโนโลยีด้านพลังงานทดแทน สำหรับกลุ่มเป้าหมายกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้เลี้ยงปลาตามแหล่งน้ำธรรมชาติในพื้นที่ตำบลขุนคง อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ ภายใต้ความร่วมทางวิชาร่วมกับวิทยาลัยพลังงานทดแทน และชุมชนบ้านหัวทุ่ง ตำบลเชียงดาว อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ทั้งนี้การดำเนินโครงการบริการวิชาการโครงการนี้จะสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงการอันเนื่องมากจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.) ตามแผนงานพื้นฐานด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม เป้าหมาย เพื่อให้การบริหารจัดการดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ถูกต้อง ครบถ้วน มีประสิทธิภาพและสัมฤทธิ์ผลตามแนวพระราชดำริและเพื่อให้ประชาชนที่อยู่ในโครงการพระราชดำริมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อแปรรูปผลิตภัณฑ์จากปลาโดยใช้กระบวนการอบแห้งด้วยพลังงานแสงอาทิตย์
เพื่อนำวัสดุเหลือทิ้งในชุมชนมาผลิตเป็นถ่านชีวภาพและถ่านสำหรับเป็นเชื้อเพลิงพลังงานทดแทนโดยใช้เทคโนโลยีพลังงานทดแทน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : - โรงเรือนอบแห้งปลาด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ - เทคโนโลยีการผลิตถ่านชีวภาพด้วยพลังงานทดแทน
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.35 ล้านบาท 0.35
KPI 5 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : จำนวนเทคโนโลยีที่ใช้ในการบริการวิชาการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 เทคโนโลยี 2
KPI 7 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : ร้อยละของรายได้ผู้รับบริการเพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ร้อยละ 10
KPI 9 : ร้อยละของผู้รับบริการนำองค์ความรู้ไปต่อยอดเป็นอาชีพ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ร้อยละ 10
KPI 10 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : - โรงเรือนอบแห้งปลาด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ - เทคโนโลยีการผลิตถ่านชีวภาพด้วยพลังงานทดแทน
ชื่อกิจกรรม :
โครงการย่อยที่ 1
ชื่อโครงการ การนำวัสดุเหลือใช้ในชุมชนเพื่อผลิตเป็นพลังงานทดแทน
กิจกรรม : การสร้างเตาผลิตถ่านชีวภาพ และการอบรมให้ความรู้

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติกร  สาสุจิตต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยิ่งรักษ์  อรรถเวชกุล (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ภคมน  ปินตานา (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 20 คน ๆ ละ 50 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 20 คน ๆ ละ 250 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือประกอบการฝึกอบรม ขนาด A4 (50 หน้า) จำนวน 20 เล่มๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 1,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,400.00 บาท 0.00 บาท 1,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิล/โปสเตอร์ ขนาด 0.6 x 1.20 เมตร จำนวน 1 ผืนๆละ 3,000 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) บรรยาย จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 2 คน 1 วัน เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร เช่น ไม้ไผ่ ไม้ยูคา เชือก ผ้าใบพลาสติก ผ้าใบ ตาข่าย ฯลฯ เป็นเงิน 35,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 35,000.00 บาท 0.00 บาท 35,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุก่อสร้าง เช่น ทราย ปูนซีเมนต์ ข้องอ ข้อต่อเหล็ก เหล็กเส้นฯลฯ เป็นเงิน 50,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุไฟฟ้า เช่น สายไฟฟ้า กล่องกันน้ำ หลอดไฟ ปลั๊กไฟ สวิทซ์ ฯลฯ เป็นเงิน 50,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 150000.00
ชื่อกิจกรรม :
โครงการย่อยที่ 2
ชื่อโครงการ การเแปรรูปผลผลิตจากปลาโดยการอบแห้งด้วยพลังงานแสงอาทิตย์
กิจกรรม : การจัดระบบอบแห้งปลาด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ และการอบรมให้ความรู้

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิกราน  หอมดวง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชูรัตน์  ธารารักษ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุระพล  ริยะนา (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.นงเยาว์  เต๋จ๊ะใหม่ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 50 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 200 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือประกอบการฝึกอบรม ขนาด A4 (50 หน้า) จำนวน 50 เล่มๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิล/โปสเตอร์ ขนาด 0.6 x 1.20 เมตร จำนวน 1 ผืนๆละ 3,000 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) บรรยาย จำนวน 2 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 4 คน 1 วัน เป็นเงิน 4,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร เช่น แผ่นพลาสติกใส คลิปล็อค ลวด เชือก ตาข่าย ผ้าใบ ท่อพีวีซี ฯลฯ เป็นเงิน 60,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 60,000.00 บาท 0.00 บาท 60,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุก่อสร้าง เช่น หิน ทราย ปูนซีเมนต์ ข้องอ ข้อต่อ เหล็กเส้น เหล็กกล่อง ฯลฯ เป็นเงิน 50,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุไฟฟ้า เช่น สายไฟฟ้า กล่องกันน้ำ ปลั๊กไฟ สวิทซ์ ฯลฯ เป็นเงิน 30,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ถุงมือ กะละมัง ถังพลาสติก ถาดสแตนเลส ฯลฯ เป็นเงิน 38,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 38,200.00 บาท 0.00 บาท 38,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 200000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
โครงการนี้จะบูรณาการกับการเรียนการสอน โดยให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมการดำเนินการทั้งในด้านการออกแบบ การสำรวจ หรือกิจกรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องโดยจะบูรณาการเรียนการสอนในรายวิชา พง 430 การอบแห้งผลผลิตทางการเกษตรด้วยเทคโนโลยีพลังงานทดแทน อย่างน้อยจำนวน 5 คน
ช่วงเวลา : 01/06/2566 - 30/09/2566
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล