19856 : โครงการส่งเสริมการบริโภคกาแฟโรบัสตาจังหวัดชุมพร
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เบญจมาศ ณ ทองแก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 27/2/2566 10:34:09
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/02/2566  ถึง  30/09/2566
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  500  คน
รายละเอียด  ร้านกาแฟที่ใช้กาแฟโรบัสตาในการจำหน่ายเป็นเครื่องดื่ม จำนวน 50 ร้าน นักท่องเที่ยวที่ดื่มกาแฟโรบัสตาของจังหวัดชุมพร ในร้านกาแฟที่มีรายชื่อ 50 ร้าน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ไม่ใช้งบประมาณ 2566 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เบญจมาศ  ณ ทองแก้ว
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อำนาจ  รักษาพล
อาจารย์ อุทัยวรรณ  ศรีวิชัย
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 1 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 1.3 เป็นต้นแบบการสร้างชุมชนที่ยั่งยืน และแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Eco Community &Tourism)
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 1.10 ความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ Well-Being @ Chumporn
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 1.4.3 สร้างแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์และการท่องเที่ยวต้นแบบแห่งชายฝั่งทะเลตะวันออก
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.66 : 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.66 : 1.3 มีต้นแบบความสำเร็จของชุมชนและแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ทั้ง 3 วิทยาเขต Eco Community & Tourism
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.66:1.3.1 ความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ Well-Being @ Chumphon
กลยุทธ์ มจ.ชพ.66 : 6. สร้างแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์และการท่องเที่ยวต้นแบบแห่งชายฝั่งทะเลตะวันออก
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.66 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.66 : 2.4 เป็นศูนย์รวมแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.66:2.4.3 จำนวนโครงการด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและสังคมวัฒนธรรม (ชุมพร)
กลยุทธ์ มจ.ชพ.66 : 50. ส่งเสริมให้นักศึกษาและบุคลากรได้สืบสานประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

จังหวัดชุมพรเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่เพาะปลูกผลผลิตกาแฟเป็นลำดับที่ 1 ของประเทศ เป็นที่มาของคำขวัญจังหวัดที่ว่า "ประตูภาคใต้ ไหว้เสด็จในกรมฯ ชมไร่กาแฟ แลหาดทรายรี ดีกล้วยเล็บมือ ขึ้นชื่อรังนก" พบว่าในรอบหลายปีที่ผ่านมา พื้นที่เก็บเกี่ยวผลผลิตกาแฟในจังหวัดชุมพรมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยปี 2564 มีปริมาณคงเหลือ (1) เนื้อที่ยืนต้น 96,989 ไร่ (2) เนื้อที่ให้ผล 82,338 ไร่ (3) ผบผลิต 9,057 ต้น เท่านั้น สาเหตุเนื้องจากเกษตรกรปรับเปลี่ยนพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจอื่นที่มีราคาสูงกว่าทดแทน อาทิ ทุเรียน มังคุด ปาล์มนำ้มัน เป็นต้น ในทางกลับกัน พบว่าปัจจุบันคนไทยมีความนิยมดื่มกาแฟการแพร่หลาย ประมาณ 300 แก้วต่อคนต่อปี พร้อมเปลี่ยนพฤติกรรมจากเดิมที่ต้องการดื่มเพื่อความสดชื่น เป็นการดื่มเพื่อบ่งบอกไลฟ์สไตล์ เพื่อการท่องเที่ยว และเพื่อรสนิยมเฉพาะของตนเอง โดยเน้นกาแฟที่มีคุณภาพ เพื่อสร้างประสบการณ์ดื่มกาแฟที่เน้นอรรถรสของกาแฟอย่างแท้จริง ตั้งแต่กระบวนการปลูก การคัดแยก การคั่ว และการชง รวมทั้งสายพันธุ์และแหล่งเพาะปลูกกาแฟ ทั้งนี้ โครงการส่งเสริมการบริโภคกาแฟโรบัสตาจังหวัดชุมพร เห็นความสำคัญในการสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ของผู้เกี่ยวข้องในระบบการผลิตกาแฟทุกระดับตั้งแต่ต้นนำ้ กลางนำ้และ ปลายนำ้ และมองเห็นโอกาสการสร้งรายได้เพิ่มให้กับจังหวัดชุมพรด้วยการส่งเสริมกิจกรรมการบริโภคกาแฟจากนักท่องเที่ยวทั้งภายในจังหวัดและต่างจังหวัด และสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการร้านกาแฟให้มีความร่วมมือในการส่งเสริมมูลค่าเพิ่มให้กับกาแฟโรบัสตาจังหวัดชุมพร

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสร้างโอกาสและขยายช่องทางตลาดกาแฟโรบัสตาจังหวัดชุมพร
เพื่อประชาสัมพันธุ์สร้างการรับรู้การบริโภคกาแฟโรบัสตาจังหวัดชุมพรให้แก่ผู้บริโภคทั้งประชาชนท้องถิ่นและนักท่องเที่ยว ในรูปแบบข้อมูลสื่อความหมาย
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : คู่มือสร้างการรับรู้กาแฟโรบัสตาและร้านกาแฟที่เข้าร่วมโครงการจังหวัดชุมพร จำนวน 50 ร้าน
KPI 1 : ร้านที่ประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการบริโภคกาแฟโรบัสตา ผ่านเพจRobusta guide
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 ร้าน 50
KPI 2 : คู่มือสร้างการรับรู้และส่งเสริมการบริโภคกาแฟโรบัสตาจังหวัดชุมพร
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 แผ่น 20
ผลผลิต : สร้างเพจ Facebook ประชาสัมพันธ์โครงการ เพื่อสร้างการรับรู้การบริโภคกาแฟโรบัสตาให้กับผู้บริโภคจังหวัดชุมพรและผู้บริโภคที่เดินทางมาจากต่างจังหวัด
KPI 1 : จำนวนสมาชิกเพจ Robusta guide สร้างการรับรู้และส่งเสริมการบริโภคกาแฟโรบัสตาผ่านเพจประชาสัมพันธ์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 คน 100
KPI 2 : เพจประชาสัมพันธ์กาแฟโรบัสต้าจังหวัดชุมพร
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เพจ 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : คู่มือสร้างการรับรู้กาแฟโรบัสตาและร้านกาแฟที่เข้าร่วมโครงการจังหวัดชุมพร จำนวน 50 ร้าน
ชื่อกิจกรรม :
สำรวจและรวบรวมรายชื่อร้านกาแฟจังหวัดชุมพรที่มีการนำกาแฟโรบัสตาจังหวัดชุมพรมาใช้เพื่อส่งเสริมการบริโภคในร้าน จำนวน 50 ร้าน และสร้างคู่มือสื่อความหมายฉบับการ์ตูนในรูปแบบE-book

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 27/02/2566 - 31/03/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เบญจมาศ  ณ ทองแก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
เก็บสถิติผู้บริโภคกาแฟโรบัสตาให้กับผู้บริโภคภายในจังหวัดชุมพรและผู้บริโภคที่เดินทางมาจากต่างจังหวัด เพื่อลุ้นรับรางวัลสุดยอดนักดื่มกาแฟโรบัสตา

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 27/02/2566 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เบญจมาศ  ณ ทองแก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์อำนาจ  รักษาพล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ผลผลิต : สร้างเพจ Facebook ประชาสัมพันธ์โครงการ เพื่อสร้างการรับรู้การบริโภคกาแฟโรบัสตาให้กับผู้บริโภคจังหวัดชุมพรและผู้บริโภคที่เดินทางมาจากต่างจังหวัด
ชื่อกิจกรรม :
ประชาสัมพันธ์ร้านกาแฟที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 ร้านค้า

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 27/02/2566 - 31/08/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์อุทัยวรรณ  ศรีวิชัย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เบญจมาศ  ณ ทองแก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การบริการอาหารและเครื่องดื่ม การสื่อความหมายสำหรับการท่องเที่ยว การจัดทำแผนและโครงการสำหรับการท่องเที่ยวในลักษณะบูรณาการ
ช่วงเวลา : 01/02/2566 - 30/09/2566
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ส่งเสริมการผลิตและสร้างมูลค่าเพิ่มพืชท้องถิ่น (กาแฟโรบัสตาจังหวัดชุมพร)
ช่วงเวลา : 01/02/2566 - 30/09/2566
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล