19663 : โครงการพัฒนาฐานเรียนรู้มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
นายชัยวิชิต เพชรศิลา (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 9/2/2566 15:09:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/03/2566  ถึง  30/09/2566
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา และผู้ที่สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากโครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2) แผนงานบริการวิชาการแก่ชุมชน 2566 40,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย ชัยวิชิต  เพชรศิลา
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 1 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 1.6 เป็นมหาวิทยาลัยดิจิทัลที่มีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในทุกพันธกิจของมหาวิทยาลัยอย่างเต็มรูปแบบ สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาของโลก (Digital University)
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 1.13 ความสำเร็จของการดำเนินงานด้านเกษตรอัจฉริยะ (Smart Farming)
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 1.6.3 พัฒนาฟาร์มอินทรีย์ต้นแบบที่มีความทันสมัย รวมทั้งเทคโนโลยี นวัตกรรม และเครื่องจักรต่างๆ ที่ใช้ภายในฟาร์ม
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 1.3 เป็นต้นแบบการสร้างชุมชนที่ยั่งยืน และแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Eco Community &Tourism)
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 1.10 ความสำเร็จในการสร้างพิพิธภัณฑ์เกษตร
กลยุทธ์ 65-69 MJU 1.4.4 สร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ด้านการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.2 ผลักดันผลงานการให้บริหารวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.66 : 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.66 : 1.3 มีต้นแบบความสำเร็จของชุมชนและแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ทั้ง 3 วิทยาเขต Eco Community & Tourism
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.66:1.3.2 ความสำเร็จในการสร้างพิพิธภัณฑ์เกษตร
กลยุทธ์ มจ.ชพ.66 : 7. สร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ด้านการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.66 : 1.4 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตภาคการเกษตร (Intelligent Agriculture)
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.66:1.4.1 ความสำเร็จของการดำเนินงานด้านเกษตรอัจฉริยะ (Smart Farming)
กลยุทธ์ มจ.ชพ.66 : 8. พัฒนาฟาร์มอินทรีย์ต้นแบบที่มีความทันสมัย รวมทั้งเทคโนโลยี นวัตกรรม และเครื่องจักรต่างๆ ที่ใช้ภายในฟาร์ม
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.66 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.66 : 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.66:2.3.1 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ มจ.ชพ.66 : 40. ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.66:2.3.5 จำนวนฐานการเรียนรู้ที่เป็นที่พึ่งของชุมชน (ชุมพร)
กลยุทธ์ มจ.ชพ.66 : 45. ผลักดันการตั้งฐานเรียนรู้ภายในมหาวิทยาลัย เพื่อให้สามารถเป็นที่พึ่งให้กับชุมชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีนโยบายในการพัฒนามหาวิทยาลัยไปสู่การเป็น Organic University Green University และการไปสู่ Eco University มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 100 ปี และผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของ มหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนา อย่างยั่งยืน (SDGs) มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร มีนโยบายและแนวทางในการพัฒนามหาวิทยาลัยในลักษณะทิศทางเดียวกับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่ที่จะก้าวไปด้วยกัน ถึงมับริบทและสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันแต่ก็สามารถดำเนินกิจกรรมการพัฒนาได้ ซึ่งการพัฒนามหาวิทยาลัยไปสู่ Organic University Green University และ Eco University จำเป็นต้องมีการพัฒนาและปรับปรุงในแทบทุกมิติให้เข้ากับสภาพพื้นที่ทั้งในด้านการจัดการทั้งการบริหารการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ การทำนุศิลปวัฒนธรรมในท้องถิ่น และพัฒนาระบบการบริหารให้มีประสิทธิภาพโดยยึดหลักธรรมาภิบาล หรือแม่กระทั่งการบริหารจัดการฟาร์มมหาวิทยาลัย “โครงการพัฒนาฐานการเรียนรู้มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร” เป็นโครงการพัฒนาฐานการเรียนรู้ในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร ที่มีจำนวนฐานการเรียนทังหมด 10 ฐานการเรียนรู้ แต่เนื่องจากงบประมาณไม่เพียงพอจึงใช้งบประมาณที่ได้รับในการพัฒนาฐานการเรียนรู้เพียง 4 ฐานการเรียนรู้ เช่น (1) ฐานการเรียนรู้ผลิตปุ๋ยอินทรีย์แบบวิศวกรรมแม่โจ้ 1 (2) ฐานการเรียนรู้การเพาะและเลี้ยงปลาน้ำจืด (3) ฐานการเรียนรู้การผลิตไม้ประดับ และ (4) ฐานการเรียนรู้การผลิตหน้าวัวในสวนปาล์มน้ำมัน ชึ่งฐานการเรียนรู้ทั้ง 4 ฐาน สามารถบูรณาการการเรียนการสอนหลักสูตรพืชศาสตร์ และในวิชาเศรษฐกิจพอเพียง สาขาวิชาการเกษตรเพื่อชีวิต และสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง นอกจากนั้นฐานการเรียนรู้ในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร ยังเป็นแหล่งศึกษาดูงานให้เกษตรกร ชุมชน ประชาชนทั่วไป และนักเรียน นักศึกษา เข้ารับบริการศึกษาเรียนรู้ได้ ตลอดจนการนำไปประยุกต์ใช้ที่จะก่อให้เกิดรายได้ ในปัจจุบันฐานการเรียนรู้ทั้ง 4 ฐานของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร สามารถสร้างให้เป็นฐานการเรียนรู้แบบมีชีวิตที่เรียนรู้ปฎิบัติได้จริงและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง สร้างรายได้ และลดรายจ่ายในครัวเรือนได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาเป็นฐานการเรียนรู้ให้มีชีวิตในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร
2. เพื่อบูรณาการฐานการเรียนรู้กับสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดประโยชน์กับนักศึกษาของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร
3. เพื่อพัฒนาฐานการเรียนรู้ที่สามารถบริการวิชาการให้แก่ เกษตรกร ชุมชน ประชาชนทั่วไป และนักเรียน นักศึกษา สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ฐานการเรียนรู้ 4 ฐาน
KPI 1 : ร้อยละที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
33400 3300 3300 บาท 40000
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่รับบริการวิชาการ และวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 6 : จำนวนฐานการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
4 ฐาน 4
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ฐานการเรียนรู้ 4 ฐาน
ชื่อกิจกรรม :
พัฒนาฐานการเรียนรู้มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/03/2566 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายชัยวิชิต  เพชรศิลา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายกฤษฎิ์  พลไทย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ว่าที่ ร.ต.ขจรรักษ์  พู่พัฒนศิลป์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายรังสิวุฒิ  สิงห์คำ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาตัดหญ้า (งานฟาร์มประมงน้ำจืด) จำนวน 3 ครั้งๆ ละ 10 ไร่ๆ ละ 330 บาท เป็นเงิน 9,900 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,300.00 บาท 3,300.00 บาท 3,300.00 บาท 9,900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ต้นพันธุ์เตยด่าง จำนวน 202 ต้นๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 10,100 บาท
- ต้นพันธุ์หน้าวัว จำนวน 100 ต้นๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท
- ปุ๋ยคอก (มูลวัว) จำนวน 200 กระสอบๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 30,100.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,100.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 40000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
- การดำเนินการจัดชื้อจัดจ้างที่ล้าช้าอาจมีผลต่อการดำเนินโครงการ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
- เร่งรัดการจัดชื้อจัดจ้างเพื่อการดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จตามเวลา
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
- การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด - การจัดการฟาร์ม
ช่วงเวลา : 01/10/2565 - 30/09/2566
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล